Page 43 - ต้นจิตและอริยาบทย่อย
P. 43

แคเ่ หน็ วา่ เกดิ ใหมข่ นึ้ มา แตเ่ หน็ วา่ จติ ดวงใหมท่ เี่ กดิ ขนึ้ มาเปน็ อยา่ งไร เรา จะเคยได้ยินคาว่า “จิตขณะแรกประภัสสร” พอได้ยินคานี้เราก็คิดถึงเด็ก แรกเกิด ถ้าประภัสสรแบบนั้นคงไม่เกิดหรอก เกิดขึ้นมาก็ร้องไห้จ้าแล้ว เพียงแต่เขายังไม่ได้คิดเรื่องทางโลกแค่นั้นเอง เขามีวิบากของตัวเองที่ ส่งผลให้เกิดมาเป็นมนุษย์ ถ้าเราพูดว่าจิตเด็กแรกเกิดเป็นประภัสสร ก็ แสดงว่ากรรมในอดีตไม่ส่งผล ต้องมาสร้างในชาตินี้อย่างเดียว ตรงนี้เป็น เรื่องสาคัญ แล้วโยคีจะได้รู้ว่าคาว่า “ประภัสสร” คืออะไร จิตที่ไม่มีกิเลส ขณะแรกเป็นแบบไหน นี่แหละคือการรู้จิต การศึกษาดูจิตเราจะต้องเห็น ด้วยตัวเอง ไม่ใช่เขาว่ามาแล้วน่าจะ ๆ “ความน่าจะเป็น” กับ “สิ่งที่เป็น” บางครั้งต่างกันมากเลย การปฏิบัติธรรมเราต้องรู้สิ่งที่เป็น ไม่ใช่สิ่งที่น่า จะเป็น ตรงนี้แหละจึงใช้คาว่า “ปัญญา - ความรู้แจ้ง” เพราะรู้แจ้งเห็นจริง ตามที่เป็น คือผู้ปฏิบัติจะต้องเห็นชัดว่าเป็นแบบนั้นจริง ๆ และสิ่งนี้ ก็คือจิตที่ทาหน้าที่รับรู้อยู่ทุกวัน ที่เราเข้าใจว่าเป็นเรา เป็นเรา... อยู่ทุกวัน นี่แหละ เพราะฉะนั้น ต้นจิตจึงมีอานิสงส์เยอะ
เวลาเราปฏิบัติ ถามว่า จาเป็นต้องดูต้นจิตไหม ? ถ้าถามแบบนี้ ให้อาจารย์ตอบ จาเป็นสิ! เราก็บอก มันรู้อยู่แล้ว จาเป็นไหม มันสร้าง ภาระให้ตัวเอง... ที่พูดอย่างนั้นเพราะอะไร ? เพราะการตั้งใจดูต้นจิต มันต้องใช้พลังมากขึ้น ต้องนิ่งขึ้น มันไม่ได้เอ้อระเหยไปไหนก็ได้ ต้อง มีความจดจ่อแน่วแน่ แต่นั่นทาให้สติเรามีกาลังมากขึ้น แล้วต่อไปก็คือ ความอิสระ การมุ่งจดจ่อใส่ใจต้นจิต เป็นวิธีการที่ทาให้จิตตนเองนั้น อิสระจากกิเลส ถึงแม้จิตเราจะต้องนิ่งขึ้น ต้องอดทน แต่นั่นคือเส้นทาง ที่จะทาให้ตัวเองนั้นอิสระจากกิเลส และหลุดจากวัฏฏะ เพราะฉะนั้น จึง ต้องใส่ใจ ไม่ใช่แค่อยากอิสระ ถ้าอิสระจากสติ อิสระจากสมาธิ แล้ว
37
































































































   41   42   43   44   45