Page 44 - ต้นจิตและอริยาบทย่อย
P. 44
38
ตกเปน็ ทาสของกเิ ลส อยา่ งไรกไ็ มห่ ลดุ พน้ ! เดยี๋ วกว็ นอยนู่ แี่ หละ วนเวยี น อยู่ในวัฏฏะ ไม่มีจุดเริ่มต้น ไม่มีจุดสิ้นสุด ไม่สามารถหลุดพ้นจากความทุกข์ ไปได้ เพราะฉะนั้น ที่เราปฏิบัติ ถ้าสังเกตดี ๆ เริ่มต้นด้วยการแยกรูป แยกนาม พอทาจิตให้ว่าง ให้กว้างกว่าตัวปุ๊บ รู้สึกเป็นอย่างไร ? สบาย เราสบายไดเ้ พราะการแยกรปู นามเปน็ การตดั อปุ าทานในเบอื้ งตน้ เปน็ การ ตัดอุปาทานการเข้าไปยึดว่าเป็นตัวเราของเรา
เมื่อไหร่ที่เห็นจิตกับกายเป็นคนละส่วนกันปึ๊บ เขาก็ตัดอุปาทาน โดยปริยาย จิตจึงเบาจึงโล่ง รูปก็เบา หรือตัวก็เบา จิตก็เบา การที่เห็น ชดั วา่ รปู กบั นามแยกจากกนั เปน็ การตดั อปุ าทานอยา่ งไร ? สงั เกตไหมวา่ พอเราแยกรูปกับนามออกจากกันปึ๊บ เราก็เห็นช่องว่างระหว่างจิตที่เบา กับตัว ถ้าจิตที่เบากว้างออกไปเท่าไหร่ เขาก็จะมีช่องว่างตรงนี้รอบ ๆ ตัว นั่นคือตัดตัวที่ผูกเอาไว้ ถ้าเราไปเกาะติดเป็นอันเดียว มีเราปึ๊บ ช่องว่าง ตรงนี้จะหายไป การเห็นช่องว่างตรงนี้คือการตัดอุปาทาน พอมีช่องว่าง ปึ๊บ จะตัดความเข้าใจผิดที่คิดว่าจิตกับตัวเป็นอันเดียวกันออกไป ตดั ความไมร่ ู้ ตดั อวชิ ชาทไี่ มร่ วู้ า่ จติ กบั ตวั เขาเปน็ คนละสว่ นกนั พอตดั ปบ๊ึ เขาคลายออกไป จติ เรากเ็ บาขนึ้ ทนี นี้ อกจากสงั เกตวา่ จติ กบั ตวั เปน็ คนละสว่ น แล้ว ก็ต้องสังเกตกับทุกอย่าง อย่างเช่น พอคิดขึ้นมา ก็ต้องสังเกตว่า จติ ทรี่ กู้ บั เรอื่ งทคี่ ดิ เปน็ สว่ นเดยี วกนั หรอื คนละสว่ น เพอื่ อะไร ? ตดั อวชิ ชา ความเข้าใจผิดความคิดผิดว่าเป็นเราเป็นของเรานั่นเอง นี่เป็นเรื่องสาคัญ ที่เราเห็นแต่อาจจะไม่ได้พิจารณา รู้แต่ว่าจิตกับความคิดเป็นคนละส่วน มันว่าง มันเบาสบาย เห็นว่าความคิดอยู่ไกล ๆ ในที่ว่าง ๆ เราก็นั่งอยู่ใน ที่โล่ง ๆ เป็นผู้ดูอยู่ ตรงนี้เราเห็น นี่เป็นสภาวะโดยตรง