Page 45 - ต้นจิตและอริยาบทย่อย
P. 45
แต่ความเข้าใจตรงนี้ ถ้าเราไม่พิจารณาเรื่องการตัด การละ ความเป็นคนละส่วน ตรงนี้เรียกว่าจะทาให้เกิดการหลุดพ้นชั่วขณะ จากที่เรา เคยไหลตามความคิด ความคิดปรุงแต่งจิตให้เกิดความขุ่นมัว มีมโนกรรมที่ คิด ๆ ๆ แล้วก็ทุกข์ขึ้นมา พอเรามีสติรู้ว่า จิตที่ทาหน้าที่รู้กับความคิดที่ เกิดขึ้น เป็นคนละส่วนปึ๊บ ความคิดก็ยังปรุงแต่งไป แต่ว่าเราเป็นผู้ดูอยู่ ถามว่า เขาหลุดจากวงจรไหม ? ความคิดกาลังพิจารณาสิ่งที่เป็นไปตาม เหตุปัจจัยอยู่ แต่จิตผู้รู้ไม่ได้หมุนตาม ไม่ได้คล้อยตาม ไม่ได้ทุกข์ตาม ไม่มีโสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส เป็นจิตที่หลุดจากวงจร เป็นผู้ดู แม้ชั่ว ขณะหนึ่ง ๆ ยังรู้สึกดีเลย ขณะที่เราเห็นว่าความคิดมันอยู่ข้างนอก คิด เยอะแยะ แต่จิตนิ่งมากเลย เป็นผู้ดูอยู่ เป็นคนละส่วนกับความคิด จิตรู้สึกเบา ความคิดอยู่ไกล ๆ ยิ่งไกลออกไปมันยิ่งเบา ทั้ง ๆ ที่คิดเรื่องเดิม ๆ ที่เรา เคยคิดเยอะนั่นแหละ ตอนนี้มันไม่กระทบแล้ว ถามว่า ไหลตามอารมณ์ ไหม ? ไม่ไหลตามอารมณ์ แล้วจิตตรงนี้เป็นอย่างไร ? แต่บางทีเราเห็น แล้ว ไม่เข้าใจว่านั่นเกิดจากการเห็นจิตกับความคิดเป็นคนละส่วนกัน นั่นคือ จิตกับความคิดเป็นคนละขันธ์กันเลย นี่คือสิ่งที่พระพุทธเจ้าตรัส “ควรหรือ ทจี่ ะไปยดึ เอาความคดิ เปน็ ของเรา” กเ็ ขาทา หนา้ ทขี่ องเขาอยา่ งนนั้ นแี่ หละ คือสภาวะ
เพราะฉะนนั้ พอเหน็ ชดั วา่ จติ กบั ความคดิ เปน็ คนละสว่ นกนั แบบนี้ ถามว่า เขาทุกข์ตามเรื่องที่คิดหรือเปล่า ? ตรงนี้แหละมีผัสสะ แต่เวทนา ไม่เกิด ตัณหาไม่เกิด อุปาทานไม่เกิดขึ้น มีแต่อารมณ์ที่ปรากฏแล้วทาหน้าที่ ของตนไป นี่คืออานิสงส์ของสภาวธรรมที่เกิดขึ้น ลองไปทบทวนพิจารณาดู ดี ๆ ว่า ทาไมการที่เราเห็นจิตกับกายแยกกันแล้วมันถึงเบา เมื่อก่อน ทาไมมันหนักไปหมด อันที่จริงไม่รู้หรือแยกไม่ออกว่าเบาหรือหนักด้วยซ้า
39