Page 46 - มิติธรรม
P. 46

40
๑๕. เปนสภาวปรมัตถไมมีเศษของบัญญัติปะปนอยู ๑๖. ไมมีอาการดิ้นรน กระวนกระวาย หรืออึดอัด
๑๗. ไมมีอาการนึกคิดหรือปรุงแตง ๑๘. ไมมีมโนภาพหรือสีสัน
๑๙. ไมมีความกังวลหรือหวงใย ๒๐. ไมดีใจ หรือเสียใจ
๒๑. ไมมีความอาลัย หรือตื่นกลัว
๒๒. ไมมีความปรารถนาหรือปฏิเสธ
๒๓. เปนความรูสึกอิสระจากทุกสิ่งทุกอยาง
๒๔. ยิ่งมีความออนกําลังมากเทาไร ใจรูยิ่งเงียบ สงบ สบาย
และยิ่งเขาใกลวาระสุดทายมากเทาไร ใจรูที่เงียบ สงบ สบาย จะยิ่ง กลืนเขากับบรรยากาศมากเทานั้น เปนความเงียบ สงบ สบายที่ไมมี อะไรเหลือ ซึ่งเปนอาการรับรูครั้งสุดทายกอนที่รูปนามจะสิ้นสุด
๒๕. อาการรับรูครั้งสุดทาย จะเปนตัวประกาศใหรูวา ไมตองเกิดอีก บุคคลผูหวังความหลุดพน จะตองมีความศรัทธาในพระพุทธ พระธรรม และพระอริยสงฆ
๒๖. สติมีการเตือนเปนลักษณะ เตือนใหรูจักกุศล อกุศล แยกแยะ ผิด ถูก มีโทษหรือไมมีโทษ เมื่อขาดเสียซึ่งสติจึงไมสามารถแยกแยะ ได
๒๗. จองเวรขามภพขามชาติ เกิดจากการตั้งจิตขณะที่มีมิจฉาสมาธิ ๒๘. อายตนะเกิดจากกรรมตางกัน ไมไดเกิดจากกรรมอยางเดียวกัน ๒๙. ผูที่ยังมีกิเลส อารมณตาง ๆ ที่เกิดขึ้นไมวาจะเปนอารมณ
ภายนอกหรือภายใน อารมณเหลานี้จะเปนตัวบังคับจิตใหปรุงแตงไป ตาง ๆ นานา


































































































   44   45   46   47   48