Page 53 - มิติธรรม
P. 53

๘. ขณะไดยินเสียง ความสุขจะเปนผูไดยินเสียงนั้น
๙. ขณะไดกลิ่น ความสุขจะเปนผูรูกลิ่น
๑๐. ขณะลิ้มรส ความสุขจะเปนผูรับรูรส
๑๑. ขณะสัมผัส หยิบ จับ เคลื่อนไหว เดิน ความสุขจะเปนผูรับรู
อาการเหลานั้น
๑๒. ขณะยืน จะรูสึกวายืนอยูบนความสุข
๑๓. ขณะนั่ง จะรูสึกวานั่งอยูบนความสุข
๑๔. ขณะคิด ความสุขจะเปนตัวหอหุมความคิด
๑๕. ขณะพูด ความสุขจะเปนตัวหอหุมคําพูดออกมา ๑๕. ขณะเคี้ยวอาหาร จะเคี้ยวถูกความสุข
๑๗. ขณะกลืน จะกลืนเอาความสุขเขาไป
๑๘. เมื่อทําไดอยางนี้ ความสุขจะตั้งอยูไดนาน
๑๙. ผูมีปญญามาก จะดับอารมณไดเร็ว
๒๐. ผูที่มีสติ จะมีความตื่นตัวตลอดเวลา
๒๑. มักมีคําถามวา ทําไมยิ่งปฏิบัติยิ่งทุกข ? ไมปฏิบัติยังจะดีกวา
๒๒. ที่เปนเชนนี้เพราะ เมื่อเจริญโลกุตตรสติแลว สามัญสติมีกําลัง มากขึ้น จึงเห็นทุกขชัดเจนขึ้น
๒๓. ถาหากสามัญสติมีกําลังมากขึ้น ทําไมจึงเกิดความรูสึกสับสน ? วนเวียนอยูกับความทุกขนั้น ?
๒๔. เหตุที่เปนเชนนี้เพราะขาดการพิจารณา ไมเห็นชองวางระหวาง อารมณ
๒๕. วธิ แี ก ใหเ อาความรสู กึ ไวห นา รปู จะเกดิ ความรสู กึ วา ง เบา สบาย
๒๖. ใหเอาความรูสึกวางนี้ ยอนกลับไปดูปญหาตาง ๆ ความสับสน ความทุกขจะคอย ๆ จางหายไป
47


































































































   51   52   53   54   55