Page 72 - มิติธรรม
P. 72

66
๗๙. เปนดวงตาที่สดใสสวางมีรัศมี ๓๖๐ องศา
๘๐. ทุก ๆ อาการ ทุก ๆ สภาวะ จึงยากที่จะเล็ดรอดจากดวงตาคูนี้ไปได ๘๑. ดวงตาคูนี้ยังเรียกอีกอยางหนึ่งวาตาใน หรือตาปญญา
๘๒. อารมณอกุศลมีกําลังมากเพราะ
๘๓. อารมณบัญญัติกับความรูสึกมีขนาดเทากัน
๘๔. ไมเห็นชองวางระหวางอารมณกับความรูสึก
๘๕. ความรูสึกเปนหนึ่งเดียวกับรูปบัญญัติ ซึ่งเปนสาเหตุใหอกุศล
มีกําลัง
๘๖. และอีกหนึ่งสาเหตุก็คือ อารมณบัญญัติใหญกวาความรูสึก
๘๗. ซึ่งที่ถูกนั้น จะตองใหความรูสึกหรือสติใหญกวาอารมณบัญญัติ ๘๘. สติมีกําลังสามารถยอหรือขยายได
๘๙. สติออน ไมสามารถยอหรือขยายได สติชนิดนี้มีลักษณะ
หมอง ไมชัด อาการพระไตรลักษณปรากฏชา หรืออาจจะไมปรากฏ เลยก็ได
๙๐. สติออนไมสามรถความคุมอารมณได ๙๑. สตินํามาซึ่งกุศลธรรมตาง ๆ
๙๒. สติมีอาการหนาทึบ หนัก เปนลักษณะของสามัญสติ ประกอบ ดวยตัวตน
๙๓. สติมีอาการ โปรง วาง เบา เปนลักษณะวิสามัญสติ ไมประกอบ ดวยตัวตน
๙๔. จิตแปรรูป รูปแปรจิต ความรูสึกชอบ ไมชอบ เฉย ๆ เปนตัว แปรจิตตลอดเวลา เกิดขึ้นได ๖ ทาง
๙๕. ในการดําเนินชีวิต ปญญาทางโลกและทางธรรมจะตองคูกัน จึงจะดี


































































































   70   71   72   73   74