Page 77 - มิติธรรม
P. 77
71
๒๘. เมื่อมีความเขาใจ และเขาถึงธรรมชาติของความทุกข ความสุข ยอมเกิดขึ้นได เปนความสุขที่ไมตองอาศัยอามิส
๒๙. ความทุกขน ั้นมี ๒ แบบ คือทุกขภาวะ และทุกขอาการ
๓๐. ทุกขภาวะนั้นหมายถึง ความทนอยูยากของอาการตาง ๆ ไม สามารถตั้งอยูในสภาพนั้นไดตลอดเวลา
๓๑. ทุกขอาการ คืออาการเจ็บไขไดปวย ปวดเมื่อย ปวดหัวตัวรอน ปวดแขน ปวดขา ปวดฟน ฯลฯ
๓๒. การยอ-ขยายความรูสึกที่รับรูจะตองรูเจตนาวาทําไปเพื่ออะไร ?
๓๓. ตองการเห็นอาการพระไตรลักษณ ความรูสึกตองเล็กกวา อารมณ
๓๔. ตองการแยกรูป-นามเพื่อเอาไปใชกับชีวิตประจําวัน ความรูสึก ตองกวางกวาอารมณ
๓๕. ลักษณะจิตหดสั้น อารมณตาง ๆ จะปรากฏเฉพาะหนา ไมมี ทิศทาง
๓๖. มีลักษณะไหลตามอารมณ เกิดจากสติออน
๓๗. ตั้งแตญาณที่ ๕ ขึ้นไป ทุก ๆ สภาวะไมสามารถบังคับใหไดดั่งใจ ๓๘. ญาณที่ ๕ ยิ่งปรากฏชัด ความเปนอนัตตาบังคับบัญชาไมไดยิ่ง
ชัดเจน
๓๙. มีเพียงสติ ปญญา หรือความเพียรอยางเดียว ไมสามารถทําลาย
ความโลภ ความโกรธ ความหลง หรือใหวิปสสนาญาณเกิดขึ้นได เหตุเพราะไมมีอารมณปจจุบัน ตองอาศัยอารมณปจจุบันเปนปจจัย จึงจะสามารถทําลาย ความโลภ ความโกรธ ความหลงลงได
๔๐. วิปสสนาเปนชื่อของปญญาที่เห็นรูป-นามเปนพระไตรลักษณ เห็นอยางอื่นไมเรียกวาปญญา