Page 115 - มรรควิถี
P. 115

มรรค ผล นิพพานได
ในขณะหนึ่ง ๆ ที่เราสามารถดับทุกขได ชั่วขณะหนึ่ง ๆ ก็ถือวา
เปนบุญแลวเปนสิ่งที่ดีแลว อริยสัจ ๔ คือความจริงทั้ง ๔ ประการ ที่ พระพุทธเจาตรัสรูนั้นรูวาสิ่งนี้เปนทุกข รูวาสิ่งนี้เปนเหตุใหเกิดทุกขคือ อุปาทานนั่นเอง พระพุทธเจาจึงตรัสวารูปูปาทานักขันโธ ขันธอันเปนที่ตั้ง แหงความยึดมั่นถือมั่นคือรูป เวทนูปาทานักขันโธ ขันธอันเปนที่ตั้งแหง ความยึดมั่นถือมั่นคือเวทนา สังขารูปาทานักขันโธ ขันธอันเปนที่ตั้งแหง ความยึดมั่นถือมั่นคือสังขาร สัญูปาทานักขันโธ ขันธอันเปนที่ตั้งแหง ความยึดมั่นถือมั่นคือสัญญา วิญญาณูปาทานักขันโธ ขันธอันเปนที่ตั้งแหง ความยึดมั่นถือมั่นคือวิญญาณ วิญญาณใจรูที่เกิดขึ้นทําหนาที่รับรูอารมณ เพราะฉะนั้นธรรมชาติสิ่งเหลานี้เกิดขึ้นมาแลว ใหเรากําหนดรูตามความ เปนจริง เพื่ออะไร เพื่อที่จะใหเราละอุปาทาน ไมใหขันธทั้ง ๕ เหลานี้ เปนที่อาศัยของกิเลส เพราะกิเลสเปนเหตุแหงทุกขเปนสมุทัย ถาเรา กําหนดอารมณตาง ๆ ดวยความรูสึกไมมีตัวตน ธรรมชาติหรือขันธ ๕ เหลานี้ก็เปนแคเพียงธรรมชาติ ที่กําลังเปนไปตามเหตุตามปจจัยอยู ทุกขทางกายก็จะเปลี่ยนไปตามสภาพของธรรมชาติ รูปกายอันนี้มีการเสื่อม มีการเปลี่ยนแปลงเปนธรรมดา กิเลสก็ไมเกิดความทุกขใจก็ไมเกิดขึ้น เมื่อเวทนาเกิดขึ้นทางกายก็เขาใจไดรูไดวา เปนเวทนาของรางกายเปน ธรรมชาตินะ
พระพุทธเจาสอนใหเราทั้งหลายพิจารณาเนือง ๆ วา รางกายนี้มี ความเจ็บเปนธรรมดา มีความแกเปนธรรมดา แลวก็มีความตายเปนธรรมดา เมื่อเปนธรรมดาจึงไมตองไปทุกขกับมันมากนัก ใหเขาใจ แตความทุกข ทางใจที่เกิดขึ้นเปนเรื่องไมธรรมดา เพราะอะไร เพราะความเขาใจผิด คิดวา ส่ิงตาง ๆ เที่ยงจึงทําใหความทุกขทางใจเกิดขึ้น เม่ือมีความ ปรารถนาสิ่งใดไมไดส่ิงนั้นก็เปนทุกข คนเราปรารถนาส่ิงใดสิ่งหน่ึงเม่ือไม
101


































































































   113   114   115   116   117