Page 126 - มรรควิถี
P. 126
112
แตเปาหมายที่พระพุทธเจาสอนก็คือ การปฏิบัติธรรม การเจริญสติหรือ ปฏิบัติวิปสสนา หรือเจริญสติปติฐาน ๔ นั้น เปนไปเพื่อความละกิเลส เพื่อความดับทุกข เพื่อมรรค ผล นิพพาน เพราะฉะนั้นเมื่อเราระลึกอยู เสมอวา เจตนาของการปฏิบัติ เปนไปเพื่อความละกิเลส เมื่อไรก็ตามที่มี กิเลสเกิดขึ้น เราก็ตองรูตองตามจิตตัวเอง เมื่อไรที่มีกิเลสเกิดขึ้นก็ตอง กําหนดรูแลวก็ดับ ถาไมมีเปาหมายอยางนี้ เวลากิเลสเกิดขึ้นจะไมรู กิเลสเกิดตอนไหนก็ไมรู กิเลสมาเมื่อไรก็ไมรู เพราะไมไดพิจารณา หรือสํารวจจิตตัวเอง เพราะฉะนั้นจึงตองสํารวจจิตตัวเองบอย ๆ วา ขณะนี้ เกิดอะไรขึ้น ขณะนี้คิดอะไรอยู สําคัญมาก ๆ ไมใชกําหนดรูอยางเดียว ความอยาก ความหลง หรือความโกรธเกิดขึ้นแลวกําหนดรู กําหนดรูเพื่อ ที่จะดับรูเพื่อที่จะสานตอ ตองมีเจตนาและมีเปาหมายอยางชัดเจน
บัญญัติที่เกิดขึ้นทางทวารทั้ง ๖ ตองทําความเขาใจ บางเรื่องตอง ทําความเขาใจ บางอยางตองกําหนดดับ ตองดับทันที ในขณะที่เจาะสภาวะ กําหนดรูอาการพระไตรลักษณของอารมณเหลานั้น ตองกําหนดรูถึงอาการ เกิด-ดับของสภาวะที่เกิดขึ้น ใหมากและใหเร็ว โดยเฉพาะอารมณที่เปน อกุศลเปนกิเลส เปนความทุกข ความไมสบายใจเกิดขึ้น ตองกําหนดดับ ใหเร็ว วิธีดับจะดับดวยวิธีไหนก็ได ถาเรากําหนดแลวความทุกขนั้นดับไป ถากําหนดรูแลวกิเลสนั้นดับไป ไมผิดแตเปนสิ่งที่ดี ถาตองการ มรรค ผล นิพพาน หรือตองการธรรมะที่สูงยิ่งขึ้นไป แคกําหนดอาการเกิด-ดับ ชั่วขณะหนึ่งไมพอ การกําหนดอาการเกิด-ดับของรูป-นาม ตองกระทํา อยางตอเนื่องเพื่อสติจะไดมีความตอเนื่อง ปญญาจะมีความละเอียด เมื่อปญญามีความละเอียดมากขึ้นก็จะเขาใจสภาวธรรม หรือธรรมะที่มี ความละเอียดออนมากขึ้น สภาวธรรมที่ละเอียดก็จะปรากฏชัดขึ้นและเห็น ชัดดวย เพราะฉะนั้นการปฏิบัติจึงตองมีเปาหมายอยางชัดเจน สองอยาง นี้ควบคูกันนะ บัญญัติกับปรมัตถตองอาศัยกัน บัญญัติที่เปนอกุศลให