Page 142 - มรรควิถี
P. 142

128
นี่คือธรรมชาติของเขา เมื่อเราเขาใจอยางนี้ จิตเราก็จะไมทุรนทุราย ถึงแม รูสึกขัดเคืองบาง ไมคลองแคลว เวลามีการเคลื่อนไหวตาง ๆ อาจจะ ไมสะดวกเหมือนตอนที่สุขภาพรางกายแข็งแรง แตถาเราเขาใจ จิตก็ไม เศราหมอง เมื่อจิตไมเศราหมองเนี่ย คือจิตที่หลุดออกจากเวทนา เวทนา ไมสามารถปรุงแตงจิตเราใหเปนทุกขได นี่คือสิ่งที่ควรพิจารณาใหรูตาม ความเปนจริง ที่เขาเรียกวารูทุกข
เหตุใหเกิดทุกขนะ เหตุที่เกิดทุกขทางกาย เหตุอยางหนึ่งอยางที่ บอกแลววา เหตุเกิดจากการเจ็บไขไดปวย หรือกระทบของที่แข็ง แลวเกิด มีอาการแตก หรือมีอาการเลือดลมวิ่งไมสะดวก ทําใหมีอาการเครงตึง อึดอัดตรงนั้น อันนั้นเปนเหตุหนึ่ง เหตุใหญที่สุดที่ทําใหอาการปวดนี้ เกิดขึ้น ก็อยางที่บอกแลวก็คือวาการเกิดนั่นแหละ การเกิดขึ้นมาบนโลกนี้ ไมวาจะเปน คน เปนสัตว ประเภทไหนก็ตาม ก็จะไดรับอาการเจ็บปวด เหมือนกัน สิ่งที่มีชีวิต มีจิตวิญญาณ ก็จะรับรูถึงอาการเจ็บอาการปวด ตรงนี้เหมือนกัน
เพราะฉะนั้นพระพุทธเจาจึงสอนใหเราพิจารณากําหนดรู รางกายจัด เปนขันธอยางหนึ่ง ที่เรียกวาเปนองคประกอบของขันธ ๕ รูปสักแตวารูป ไมใชสัตว บุคคล ตัวตน เรา เขา สมัยพุทธกาล เมื่อนักปฏิบัติหรือโยคี ผูปฏิบัติ กําหนดรูเห็นทุกขของรูป ของรางกายนี้วาตั้งอยูบนความทุกข มีแตทุกขเกิดขึ้น เดี๋ยวก็ปวด เดี๋ยวก็เมื่อย เดี๋ยวก็เสื่อมสลาย ไมมั่นคง ถาวร อยูไดไมกี่ป อยูไดไมถึงรอยปก็เสื่อมสลายไปแลว ตองตาย ก็เลย หาวิธีที่จะหลุดพนจากอาการเหลานี้ หาวิธีหลุดพนดวยการปฏิบัติธรรม บางคนปฏิบัติธรรมฝกจิตตัวเองใหหลุดพน ไมใหยึดติดกับรูปอันนี้ บางคนก็ปฏิบัติจนไดฌาน เขาเรียกฌาน เขาถึงอรูปฌาน
อรูปฌานหมายถึงวา เขาถึงฌานแลวจะไมรูสึกถึงรูป ไมมีรูป เมื่อ ไดอรูปฌาน ก็ไดอรูปพรหม ไมเกี่ยวของกับรูปอันนี้ แตตอนที่ยังมีชีวิตอยู


































































































   140   141   142   143   144