Page 149 - มรรควิถี
P. 149

หรือเอาไปไกล ๆ ความรูสึกวาเปนเราก็หาย เมื่อความรูสึกวาเปนเราหาย ใจเราก็วาง โลง โปรง เห็นมั้ย.. แคความรูสึกวาเปนเราหรือตัวตน ดับไป ใจก็วาง ใจก็เบา ใจก็สงบแลว ดังนั้นเมื่อตัวตนดับไป ความโกรธ ก็หายไปดวย ไมตองไปบอกวาอยาโกรธนะ เราพยายามที่จะไมโกรธ ขมเอาไว ไมโกรธ.. ไมโกรธ.. ขณะที่ยิ่งขม มันก็ยิ่งแนน ยิ่งหนักขึ้น.. หนัก ขึ้น.. หนักขึ้น.. เพราะเราไมรูวิธีละ เขาเรียกวาไมชอบความโกรธ รูวา ความโกรธไมดี แตไมรูวิธีดับ
เพราะฉะนั้นวิธีที่จะไปดับความโกรธหรือความทุกข เขาเรียก “มรรค” วิธีการ แนวทางปฏิบัติ แนวทางการดับทุกข มรรคที่สําคัญตัวนี้ ยอลงมางาย ๆ ถามรรค ๘ ก็คือ ศีล สมาธิ ปญญา ยอลงมาคือใหเรามี สติกําหนดรูอยูกับปจจุบัน งายขึ้น แนวทางที่การจะไปถึงมรรค ผล นิพพาน ก็คือการมีสติกําหนดรูอยูกับปจจุบัน การกําหนดรูอยูกับปจจุบันกําหนด อะไร ? การกําหนดรูอยูกับปจจุบันจริง ๆ ก็คือ การกําหนดอาการของ รูปนาม ไมวาจะเปนอาการที่เกิดทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
อาการที่เกิดขึ้นทางตา หู จมูก ลิ้น กาย หรือใจ ไมวาจะเปนสภาวะ ไหน อารมณไหนที่เกิดขึ้น เสียงที่ไดยินทางหู เมื่อเกิดขึ้นมา เขาไปกําหนด รูถึงอาการเกิดดับของเสียง ความคิดที่เกิดขึ้นทางใจ เมื่อมีปรากฏขึ้นมา ก็เขาไปกําหนดรูถึงอาการเกิดดับของความคิด ขณะที่กําหนดรูอาการเกิด ดับนั้น ๆ เมื่อกําหนดรูอาการเกิดดับของความคิด สิ่งที่ตองสังเกตเพิ่ม นะ ขณะที่มีความคิด ภาพที่เกิดขึ้นจัดเปนรูป ความรูสึกที่ทําหนาที่รูก็คือ เปนนาม เพราะฉะนั้นทุกครั้งที่กําหนดรู การกําหนดรูอาการเกิดดับของ รูปนามจึงใหจับที่ความรูสึก และเมื่อเอาความรูสึกเขาไปกําหนดความคิด เมื่อเห็นวาความคิดดับแตละครั้ง แตละครั้ง แตละขณะ สังเกตวาจิตเรา ดับดวยหรือเปลา ?
เสียงก็เชนเดียวกัน ขณะที่เราฟงเสียง ไมวาจะเปนเสียงที่ชอบ
135


































































































   147   148   149   150   151