Page 191 - มรรควิถี
P. 191

จิตเขาฌานหรือจิตมีอารมณหลักอารมณใดอารมณหนึ่งที่มีความชัดเจน อยางเวลาเรานั่งสมาธิหรือนั่งเจริญกรรมฐานกําหนดดูลมหายใจ อยางเชน ขณะที่กําหนดรูลมหายใจ รูชัดถึงลักษณะอาการเกิดดับของลมหายใจ ขณะที่รูชัดถึงลักษณะอาการเกิดดับของลมหายใจอยางเดียว ขณะนั้นความ คิดไมเกิดขึ้น ตรงนั้นสติเราอยูกับปจจุบันซึ่งเปนสภาวะที่สมาธิดี สมาธิ ดีมาก ๆ แลวก็สติดีดวยที่รูชัดถึงลักษณะเกิดดับของลมหายใจ แนนอน ตรงนั้นความคิดไมเกิด ขณะนั้นความคิดไมเกิด แตเมื่อไหรที่สภาวะเหลา นั้นมีการเปลี่ยนแปลง อยางเชนเมื่อลมหายใจนอยลงหรือหายไปหรือ วางไป ไมมีอารมณหลักใหจิตเราเกาะหรือตามรู พอวางสงบสักพักหนึ่ง ความคิดก็อาจจะเกิดขึ้นมา ความคิดจะเขามา เมื่อความคิดเขามา ตรงนั้น แหละเราจะรูสึกวาความคิดรบกวน ไมสงบ
ที่จริงแลวความคิดเปนอารมณหนึ่งของกรรมฐาน ถาเราเอาความ คิดนั้นเปนอารมณกรรมฐาน ก็จะไมรูสึกวาความคิดนั้นรบกวน แตจะรูสึก จิตจะไมวางเปลา มีอารมณใหกําหนดตอเนื่อง เจริญสติตอเนื่องได ถา กําหนดรูอยางนี้ ไมมีอะไรเลยที่เปนอุปสรรคตอการปฏิบัติ ไมมีอะไรเลย ที่เปนอุปสรรคตอการเจริญสติ เพราะแมแตเวทนาหรือความปวดที่เกิดขึ้น เราก็เอามาเปนอารมณกรรมฐาน
เพราะฉะนั้นสิ่งที่เราปฏิบัติกรรมฐานกันก็คือ ทุกครั้งที่นั่ง สภาวะ ๔ อยางที่เกิด ที่จะเกิดขึ้นกับเรา ที่เปนอารมณบัญญตั ินะ หนึ่ง ลมหายใจ สอง เวทนา คืออาการปวดอาการเมื่อยอาการชา สาม ก็คือความคิด เนี่ยลักษณะมีประมาณนี้ นอกนั้นก็คือ เวนแตวาปฏิบัติไดมากกวานั้น แลวก็สภาวะอาการเกิดดับ หรือเปนแสงสีตาง ๆ ที่เกิดขึ้น เกิดแลวดับ เกิดแลวดับ ตรงนั้นแหละ สภาวะเหลานี้จะเกิด
บางคนพอนั่งปฏิบัติ ก็คือเจตนาเราผิดเสียแลว ตั้งจิตเจตนาผิด วาพอนั่งฉันจะนั่งใหสงบ ฉันจะนั่งจะตองสงบ นั่งเมื่อไหรจะฉันตองสงบ
177


































































































   189   190   191   192   193