Page 205 - มรรควิถี
P. 205

สวนเดียวกันหรือคนละสวน ถาเราแยกไมได คลุกคลีกันอยู เขาเรียกเปน อันหนึ่งอันเดียวกัน ก็ใชเวลานานนิดหนึ่ง เพราะเรื่องราวเปนสภาวะที่ เปนบัญญัติ ความเปนกลุมกอน เปนของหยาบ ทําใหเราดับยาก แตความ ทุกขเปนสภาวะภายใน เปนเรื่องของจิตใจ เปนของละเอียด และดับงาย สังเกตดูวาเวลาคนเรามีความทุกข ก็จะมีอาการแนน อึดอัดที่หัวใจ หรือมึนที่ศรีษะ นั่นลักษณะของความทุกข เพราะฉะนั้นถาเราดับอาการ เหลานี้ได ความทุกขก็จะหายไป
อยางเชนเวลาเรารูสึกอึดอัดข้ึนมา เราก็ยกจิตใหกวาง หรือขยาย ความอึดอัดนั้นใหกวางกวาตัว อีกอยางขยายความอึดอัดใหกวางไมมีขอบ เขต เมื่อขยายออกเมื่อไหร ความอึดอัดก็จะหายไป วิธีดับความทุกข ขยาย ความอึดอัด ความหนักใหกวางออก แตไมใชขยายเรื่องราวนะ ถาขยาย เรื่องราวนะไมดับแนนอน ขยายเรื่องราวหมายถึงวาจากเรื่องนี้ไปเรื่องโนน เพราะเรื่องนั้น ๆ ไปเรื่อย ยิ่งเราพิจารณายิ่งขยายเรื่องราวเทาไหร ความ ทุกขยิ่งมากขึ้นเทานั้น เพราะนั่นคือการปรุงแตง เอาสัญญามาทําใหจิตใจ เรามีความอึดอัด ยิ่งปรุงแตงก็ยิ่งทุกข เพราะฉะนั้นการดับจึงดับที่สภาวะ ที่เปนความทุกขจริง ๆ แตเมื่อดับความทุกขได ดับความอึดอัดได ดับ อาการเครงตึง มึน ๆ ขุนมัว เศราหมองได ดับไดแลวจิตเราก็จะโปรง ผองใส เมื่อจิตโปรง สมองโลง จิตวาง สงบ ตอไปก็ใชจิตประเภทนั้นแหละ ไปพิจารณาปญหาที่เกิดขึ้น เรื่องราวที่เกิดขึ้นวาควรทําอยางไร นั่นนะคือ แยกออก อยางนอย ๆ ใหดับความทุกขกอน
อีกอยางหนึ่งวิธีดับความทุกขที่งาย ๆ งายขึ้น ก็คือกําหนดรูถึง ความเปนอนัตตาอยางที่บอกแลว อยางที่กลาวมาแลววา เมื่อเรากําหนดรู ถึงความไมมีตัวตน ไมมีเราเปนผูรับรู ความทุกขจะไมเกิดขึ้น ถึงแมสภาวะ อารมณที่เกิดขึ้น ที่เปนเหตุ หรืออารมณภายนอกที่เขามากระทบจะเปน ฝายอกุศล เขาเรียกเปนอารมณที่เปนอกุศล เปนอารมณที่ไมดีก็ตาม
191


































































































   203   204   205   206   207