Page 241 - มรรควิถี
P. 241

กับสังเกตการเปลี่ยนแปลง ขณะที่เราหายใจเขา หายใจเขาไปลึกถึงไหน ก็ปลอยใหถึงนั่น ไมตองบังคับนะ ใหดูเปนธรรมชาติมากที่สุด ถาเขาสั้น ก็ใหรูชัดวาสั้น ๆ เบา ๆ แตถายาวก็ตาม ตามอาการนั้นไปเรื่อย ๆ จน สิ้นสุด แลวก็สังเกตระหวางขณะที่หายใจเขาไปแตละครั้ง ตองสังเกต เปนขณะ ๆ แตละครั้งเลยนะ ขณะที่เขาไปแตละครั้ง มีความแตกตาง มีการเปลี่ยนแปลง มีความแตกตางกันอยางไรโดยไมตองบังคับ ตามรู อยางเดียว ตามรูอยางเดียว
ถาสติเราสามารถเกาะติดกับอาการของลมหายใจนั้นไดยิ่งดีนะ เพราะการกําหนด หรือจิตที่เกาะติดกับอาการนั้น เขาเรียกวาเปนการ กําหนดไดปจจุบัน ยิ่งเห็นการเปลี่ยนแปลง เห็นความเกิดดับหรือ เปลี่ยนแปลง เห็นความแตกตางกันมากเทาไหร สติเราก็จะอยูกับ ปจจุบันมากเทานั้น หลักของวิปสสนาคือ การกําหนดรูการเกิดดับการ เปลี่ยนแปลงของอารมณตาง ๆ ที่เกิดขึ้น เพราะฉะนั้นอารมณตาง ๆ ที่เกิดขึ้นจะตั้งอยูในกฎของไตรลักษณ คือ การเกิดขึ้น ตั้งอยู ดับไป หนาที่ของเราคือ เขาไปรูถึงธรรมชาติของเขาเทานั้นเอง เขาไปรูถึงลักษณะ การเกิด การตั้งอยู และดับไป โดยไมตองบังคับ และการเขาไปรู ไมใช เพียงเปนผูดูอยูหาง ๆ หรืออยูไกล ๆ ตองเขาไปเกาะติดกับอาการ เราถึงจะเห็นชัด เขาเรียกการยกจิต ก็คือการยกจิตขึ้นสูอาการนั้น วิจารณ คือเกาะติดกับอาการ ดูการเปลี่ยนแปลง ดูการเปลี่ยนแปลงของสภาวะ เหลานั้นไปเรื่อย ๆ ดูวาเขาเปนอยางไร ไมวาอะไรเกิดขึ้นก็ตาม
สภาวะที่เกิดขึ้นในขณะที่เรานั่งปฏิบัติ หรือเจริญกรรมฐานนั้น อารมณหลัก ๆ ที่เกิดเปนประจํา หรือตองเกิดอยางแนนอน ซึ่งเรียกวา อารมณหลัก ก็คือ ๑. ลมหายใจเขาออก หรือพองยุบ ๒. ก็คือเวทนา เวทนาหมายถึงความปวด ความเมื่อย อาการชา อาการคัน อันนี้เรียกวา เวทนา อีกอยางหนึ่งก็คือ ความคิด เวลาเรานั่งแลวมีความคิดเกิดขึ้น
227


































































































   239   240   241   242   243