Page 257 - มรรควิถี
P. 257

ใหสังเกตนะ แตไมใชบังคับ แคเราสังเกต เราจะเห็นวาเรื่องที่คิดกับจิต เปนคนละสวน พอเปนคนละสวนแลวทํายังไงตอ ?
พอเปนคนละสวน ก็มาดูที่จิตเราตอวา ขณะที่เปนคนละสวน จิตเรา รูสึกเปนไง ? สงบขึ้นไหม ? พอสงบขึ้น นิ่งขึ้น เราก็คอย ๆ ขยับจิตเรา ใหกวางขึ้นกวาเรื่องที่คิด ยังไมตองปฏิเสธความคิด แตใหจิตเรากวางกวา เรื่องที่คิด พอกวางขึ้น กวางขึ้น ตอไปความคิดก็จะถอยออกไป ตอไป ก็กําหนดความคิด แลวพอใจที่จะรูวาเรื่องนี้ขึ้นมาดับแบบนี้ ภาพนี้ขึ้นมา หายอยางนี้ ตรงนี้มาแลวดับแบบนี้ นั่นคือพอใจที่จะรูการเกิดดับของ ความคิด พอใจที่จะรูความไมเที่ยงของสัญญา พอใจที่จะรูอาการเกิดดับ ของสังขาร คือการปรุงแตงดวย
จิตที่ปรุงแตงเขาเรียกจิตตสังขาร เดี๋ยวคิดโนนคิดนี่ ถาสัญญาก็.. นั่ง ๆ เดี๋ยวเรื่องในอดีตโผลขึ้นมา.. โผลขึ้นมา.. นั่นเปนตัวสัญญา แตพอเรื่องราวในอดีตปรากฏขึ้นมา เราปรุงแตงตอ ตรงที่ปรุงแตงตอเปน ตัวสังขาร ถาจะเปนเรื่องราวที่ผานมาตอนกลางวันเน่ีย เขาเรียกเปนสัญญา ขึ้นมาแลว รูแลว เขาดับอยางไร ? ดับยังไงตรงนี้ นั่นนะรูอาการเกิดดับ ของสัญญาหรือสังขาร พอรูอาการเกิดดับไปเรื่อย ๆ ตรงนี้เปนการเห็น ความไมเที่ยง เขาเรียกเปนการกําหนดรูอาการพระไตรลักษณ เกิดขึ้น ตั้งอยู ดับไป เปนสภาวะที่เราตองกําหนดรู ไมใชสิ่งที่เราตองปฏิเสธ
ทุกขเปนสิ่งที่ตองกําหนดรู สมุทัยเปนสิ่งที่ตองละ มรรคเปนสิ่งที่ตอง เจริญ นิโรธเปนสิ่งที่ตองทําใหเกิดขึ้น อริยสัจ ๔ มีแคนี้ ทุกข รูแลว ก็ตอง ใชมรรคตอเลย ไมใชรูทุกขอยูนาน ๆ ใชไหม ? เพราะทุกขอยูนาน เรา ก็ทุกขนาน ถารูวาเปนทุกข เราก็ดับเสีย นิโรธจะไดเกิดทันที ใชไหม ? นิโรธ จะไดเกิดตอ ชั่วขณะหนึ่ง อยางเชน เวลาเราไมสบายใจ เขาเรียกวาทุกข พอรูวาไมสบายใจ ถาเรากําหนดและดับได พอความทุกขดับ นิโรธก็เกิด เขาเรียกวาขณิกะ ชั่วขณะหนึ่งความสุข รูวาทุกข มรรคก็คือการเอาความ
243


































































































   255   256   257   258   259