Page 288 - มรรควิถี
P. 288

274
ถาเสียงนั้นมีความตอเนื่องนะ สมมติวาเสียงมีความตอเนื่องแบบนี้ (พระอาจารยเคาะโตะ ถี่ ๆ หลาย ๆ ครั้ง) เรามุงไปเรื่อย ๆ มุงไปที่จุดใหม จุดใหม ไปเรื่อย ๆ แลวสังเกตวา จากที่กระจาย เขาเปลี่ยนเปนยังไง ? เล็กลง จุดเล็กลง.. เล็กลง.. ตรงนี้สติดี
สังเกตไหมขณะที่เรานิ่งไป ขณะที่เราตามกําหนดรูเรื่อย ๆ จิตเรา รูสึกนิ่งขึ้น ตื่นตัวขึ้น ตรงนี้ตรงที่ตื่นตัวขึ้น เขาเรียกสติมีกําลังมากขึ้น ตรงที่นิ่งขึ้นนั้นสมาธิเพิ่มขึ้น ตรงที่เห็นความแตกตางของอารมณตรงนั้น เขาเรียกปญญา ศีล สมาธิ สติ ปญญา เกิดขึ้นในขณะเดียวกัน แลวจิต เราจะใสขึ้น ตื่นตัวขึ้น ตรงนี้เขาเรียกวา การเจาะสภาวะ การกําหนดอาการ พระไตรลักษณ
เพราะฉะนั้นเวลาเราทําจิตใหวางแลวเนี่ย ตองมากําหนดอาการอยาง นี้ มีอารมณหลักอยางนี้ เพราะฉะนั้นอารมณหลักเหลานี้ไมใชวาเฉพาะที่ ตัวเราอยางเดียว อยางเชนเมื่อวาน เมื่อคืนยังบอกเลยวา พอเราวางแลว นั่งแลวไมมีอะไรเลย เงียบหมด ไดยินแตเสียงนาฬิกาอยางเดียว แตก.. แตก.. แตก.. ใหเอาจิตเราไปที่เสียงนาฬิกา แลวสังเกตเหมือนเมื่อกี้วา เสียงตอนนี้เกิดดับยังไง เขาจะเปลี่ยนไปเอง เขาจะเปลี่ยนไปตามกําลัง ของสติเราวา สติเรามีความละเอียดแคไหน สติเราแกกลาแคไหน ปญญาเราละเอียดแคไหน สมาธิเรามีกําลังมากแคไหน เราก็จะเห็น ความตางของสภาวะของอารมณนั้น ของลักษณะการเกิดดับนั้นไป แตไมใชบังคับวาฉันอยากเห็นอยางนี้ ฉันตองเห็น ไมใช.. แตใหพิจารณา ตรงนี้มีสติอยูกับปจจุบันเมี่อไหร อาการเปลี่ยนแปลงจะชัด อันนี้คือวิธี เจาะสภาวะ หรือวิธีกําหนดอาการพระไตรลักษณ
อารมณที่เกิดขึ้น พูดซ้ํานะ .. เมื่อคืนก็พูดไปแลว คือเวลาเรานั่งสมาธิ ตองย้ําอีก .. อยางที่บอกแลววา นอกจากลมหายใจ นอกจากอาการเตน ของหัวใจ นอกจากความคิด ก็มีเสียง นอกจากเสียง ก็มีเวทนา เวทนาคือ


































































































   286   287   288   289   290