Page 92 - มรรควิถี
P. 92
78
หรือ ปฏิเสธได เกิดกับใครก็เปนอยางนี้ เพราะฉะนั้นหนาที่ของเราก็คือ เมื่ออาการปวดเกิดในความวาง สิ่งที่ตองสังเกตตอก็คือ ใจรูกับอาการ ปวดเปนสวนเดียวกันหรือคนละสวน ทําไมถึงตองพิจารณใจรูกับอาการ ปวด วาเปนสวนเดียวกันหรือคนละสวน เพราะตองการแยกระหวางนาม คือเวทนา ที่เปนเวทนาของรูป กับเวทนาที่เปนอาการของจิต ก็คือเมื่อ เห็นวาอาการปวดกับใจรูเปนคนละสวนกัน เราจะเห็นวาใจที่ทําหนาที่รูความ ปวด จะไมทุกขกับอาการปวด ใจที่ทําหนาที่รูอาการปวดจะเปนใจที่รูสึก เบา ๆ ตื่นตัว และใส ตอไปก็คือเอาใจที่เบาใสเปนผูกําหนดรูอาการเกิด- ดับของการปวด ถาไมกําหนดรูอาการเกิด-ดับของการปวดไดมั้ย ไดแต วาในขณะนั้นอาการปวด เปนอารมณอธิบดีที่มีกําลังมาก ถาจะเลี่ยงอารมณ ไปเลือกอารมณใหม สักพักก็จะดึงมาที่อาการปวด สักพักจิตก็จะกลับ เขามาที่อาการปวด เพราะอะไร เพราะความปวดมีกําลังมากกวา แตถา เรารับรูความปวดดวยความรูสึกที่ไมมีตัวตน ความปวดนั้นจะชัดแตไม ทรมาน รูวามีความปวดแตใจเราก็จะรูสึกวา เปนคนละสวนกัน เมื่อเปน คนละสวนอาศัยความปวดนั้นแหละเจริญวิปสสนา ดวยการเขาไปรู ให จิตเขาไปขางในความปวดไดเลย เขาไปขางในความปวด จากที่มันปวดมี กลุมกอนก็จะเหลือแตอาการปวด รูอาการเกิด-ดับของความปวด ก็คือ มีเจตนาเขาไปรูถึงความไมเที่ยงของเวทนา (ความปวด)
เวทนาไมเที่ยง สัญญาไมเที่ยง สังขารไมเที่ยง วิญญาณไมเที่ยง ในขณะเดียวกันเวทนาก็เปนอนัตตา เวทนาไมใชเรา เวทนาไมใชเขา เปนธรรมชาติของเวทนา แตเราอาศัยเวทนาเพื่อ มรรค ผล นิพพาน ได นี่คือความพอใจ ความฉลาด มีปญญาของเรา ถาเราพอใจที่จะอาศัยเวทนา เพื่อ มรรค ผล นิพพาน ก็ตองเอาจิตเขาไปรูถึงอาการเกิด-ดับ ดวยการ ไวที่เดียวกันกับอาการเกิด-ดับของเวทนา แลวก็สังเกตดูวาเวทนามันดับ แตละครั้งแตละขณะวูบหมด ๆ จิตที่อยูในนั้นดับดวยหรือไม ถึงแมจิตเรา