Page 22 - แนวทางการปฏิบัติธรรม
P. 22
16
ตรงนี้เราก็เหนื่อย เพราะอะไรถึงเหนื่อย ? เพราะความคิดเขาไม่เป็น ตามความอยากนั่นเอง ก็เลยเหนื่อย! แต่ถ้าเราสังเกตแบบเดียวกันกับ ลมหายใจ คอื พอมคี วามคดิ ขนึ้ มา เรากต็ งั้ สตทิ จี่ ะรวู้ า่ ความคดิ ทเี่ กดิ ขนึ้ มา เกิดดับอย่างไร พอไปสักระยะ สังเกตว่า สติหรือจิตที่ทาหน้าที่รู้ความคิด กับ เรื่องที่คิด เขาเป็นส่วนเดียวกันไหม ง่าย ๆ ตั้งสติดี ๆ ลองสังเกตดูดี ๆ ว่า ความคิดที่เกิดขึ้นหรือเรื่องที่กาลังคิดอยู่ กับ จิตที่ทาหน้าที่รู้ เขาเป็น ส่วนเดียวกันไหม หรือเป็นคนละส่วนกัน หรือเราเป็นแค่เพียงผู้ดู ความคิด ก็คิดไป แล้วเรากับเรื่องที่คิด เขาเป็นส่วนเดียวกันหรือเปล่า
อันนี้ใช้คาว่า “เรา” ก่อน ที่ใช้คาว่า “เรา” ก่อนเพราะอะไร ? ถ้าเรา รสู้ กึ วา่ เราเปน็ คนตามดตู ามรคู้ วามคดิ เรากจ็ ะเหน็ ชดั วา่ เรา กบั เรอื่ งทคี่ ดิ เขาเปน็ สว่ นเดยี วกนั ไหม พอเหน็ วา่ ไมเ่ ปน็ สว่ นเดยี วกนั เขาเปน็ คนละสว่ น กนั แลว้ ควรทา ใจอยา่ งไร... ควรทจี่ ะเครยี ดหรอื หงดุ หงดิ กบั เขาไหม หรอื ควรมาดตู วั เองดกี วา่ คดิ กค็ ดิ ไป ฉนั จะมาดู ฉนั เปน็ คนละสว่ นกบั ความคดิ จิตเป็นคนละส่วนกับความคิด จริง ๆ แล้วที่สาคัญอีกอย่างหนึ่ง ถ้าเราทา ตรงนี้ได้ เห็นจิตกับความคิดเป็นคนละส่วนกัน เห็นจิตกับลมหายใจเป็น คนละส่วนกัน เห็นจิตกับพองยุบเป็นคนละส่วนกัน อยากให้สังเกตต่ออีก นิดหนึ่งว่า ขณะที่เห็นเป็นคนละส่วนกัน แล้วจิตใจเรารู้สึกอย่างไร... รู้สึก สงบ รู้สึกโล่ง ๆ รู้สึกเบา ๆ รู้สึกสบาย ไม่วุ่นวายกับลมหายใจ ไม่วุ่นวาย กับพองยุบ ไม่วุ่นวายกับความคิดที่เกิดขึ้น ? ถ้ารู้สึกสงบ รู้สึกสบาย รู้สึก เบา ๆ ไม่วุ่นวายกับสิ่งที่เกิดขึ้น นั่นแหละเป็นผลของการเห็นถึงความเป็น คนละสว่ น ตรงนเี้ ปน็ การแยกจติ กบั อารมณ์ แยกรปู แยกนาม หรอื แยกจติ กับจิตเอง ตรงนี้เราเริ่มเห็นว่าทาไมพระพุทธองค์จึงทรงตรัสว่า รูปนามอันนี้ ประกอบด้วยขันธ์ทั้งห้า คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และ