Page 23 - แนวทางการปฏิบัติธรรม
P. 23
ห้าอย่างนี้ก็เป็นคนละส่วนกัน เป็นคนละขันธ์กัน แต่ละขันธ์เขาก็ทาหน้าที่ ของเขา... เพราะเป็นแบบนี้นี่เอง!
ถ้าไล่สภาวะไม่ทันก็ไม่ต้องกังวล ค่อย ๆ ทบทวนดู... ทีนี้ลอง สงั เกตตอ่ อกี นดิ หนงึ่ วา่ ขณะทเี่ หน็ วา่ จติ กบั อาการทางกาย จติ กบั ความคดิ เป็นคนละส่วนกัน แล้วรู้สึกสงบ สังเกตดูว่า จิตที่ว่าง ๆ จิตที่เบา จิตที่สงบ กับ ตัวที่นั่งอยู่ อันไหนใหญ่กว่ากัน อันไหนกว้างกว่ากัน ? หรือลองดูว่า จิตที่เบา ๆ ที่สงบ แผ่ให้กว้างออกไป ปล่อยให้กว้างออกไป กว้างกว่าตัว ได้ไหม ? ถ้าทาจิตให้กว้างกว่าตัวได้ ลองดูว่า พอจิตที่เบา ที่สงบ ที่ว่าง ๆ กว้างกว่าตัวออกไปแล้ว รู้สึกอย่างไร... เบาขึ้นไหม โล่งขึ้นไหม โปร่งขึ้นไหม ? ถ้ารู้สึกโล่งขึ้น โปร่งขึ้น แล้วจิตที่โล่ง ที่โปร่ง ที่กว้างขึ้น รู้สึกสงบขึ้น รู้สึกสบายขึ้นไหม ? เห็นไหมว่า จิตเราสามารถใหญ่กว่าตัวหรือกว้างกว่า ตัวได้ ? ทีนี้ถ้าจิตกว้างกว่าตัวแล้วรู้สึกสบาย ลองดูว่า จิตที่เบา ที่ว่าง ที่สงบนั้น ให้กว้างได้แค่ไหน... ให้กว้างออกไป ๆ กว้างเท่าท้องฟ้าได้ไหม เท่าจักรวาลได้ไหม? อันนี้เป็นการเริ่มดูจิตตัวเอง เป็นการดูจิตในจิต ดูว่า ธรรมชาติของจิตเขามีอานุภาพมากแค่ไหน ทีนี้ถ้าเห็นว่าจิตกว้างกว่าตัว แล้วรู้สึกสบาย ถ้าให้กว้างออกไปอีก รู้สึกอย่างไร... โล่งกว่าเดิม เบากว่าเดิม สบายกว่าเดิม หรือว่าสงบมากขึ้นกว่าเดิม ? ลองสังเกตดู พอเห็นแบบนี้ แล้วรู้สึกอย่างไร... จิตที่สบายที่กว้างออกไป รู้สึกดีไหม ?
ตอนแรกที่บอกว่า ถ้าเรารู้ว่าเราวางตาแหน่งของสติ/ของจิตเราได้ ให้จิตเราไปอยู่ข้างซ้าย ข้างขวา ข้างหน้า ข้างหลัง หรือวางตาแหน่งไปอยู่ ไกล ๆ ได้ เราก็ใช้จิตที่ว่างแล้ว จิตที่ดีแล้วนี่แหละ มาทาหน้าที่รับรู้ ลองดู ยา้ ยจติ ทเี่ บาแลว้ มาไวท้ บ่ี รเิ วณหทยวตั ถุ ยา้ ยจติ ทเี่ บาแลว้ ไปทส่ี มอง ยา้ ยจติ ที่เบาไปที่แขน ไปที่ไหล่ ไปที่ตัว ไปที่ขา อันนี้คือการวางตาแหน่งของสติ
17