Page 25 - แนวทางการปฏิบัติธรรม
P. 25

เป็นอย่างไร มีความทุกข์ไหม เขายึดอะไรหรือเปล่า... หรือรู้สึกเบา รู้สึกโล่ง เหมือนได้วาง ไม่ยึดติดกับรูป ไม่ต้องมาแบกรูปนี้เป็นของเรา รูปก็เบา จิตก็เบา นี่แหละคือสภาวธรรม การเห็นสภาวธรรมชัด ๆ ตรงนี้ เขาเรียก ว่าแยกรูปแยกนาม เห็นถึงความเป็นคนละส่วน
แต่สิ่งสาคัญอีกจุดหนึ่งที่ผู้ปฏิบัติจะต้องสังเกตให้เห็นชัดก็คือว่า พอแยกจิตกับกายเป็นคนละส่วนกันแล้ว ถามว่า จิตที่กว้าง จิตที่เบา จิตที่โล่ง จิตที่สบาย เขาบอกว่าเป็นเราไหม หรือแค่รู้สึกเบา ๆ รู้สึกว่าง ๆ รู้สึกสงบ ? สังเกตแบบนี้ แล้วลองดูว่า ในเมื่อเขาเป็นคนละส่วนกัน จิต ที่ว่างที่เบาไม่บอกว่าเป็นเรา แล้วตัวที่นั่งอยู่เขาบอกว่าเป็นเราไหม ? เรา พจิ ารณาอยา่ งนเี้ พอื่ อะไร ? การสงั เกตแบบน้ี เพอื่ ทเี่ ราจะไดเ้ หน็ รปู้ ระจกั ษช์ ดั ถึงคาสอน ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอีกอย่างหนึ่ง ที่บอกว่า รูปนามเป็นอนัตตา ไม่ใช่สัตว์ บุคคล ตัวตน เรา เขา มีแต่รูปกับนาม มีแต่กายกับจิต ที่อาศัยกันเกิดขึ้น และกาลังเป็นไปอยู่ แล้วเราจะเห็นว่า เมอื่ เหน็ ความเปน็ อนตั ตา เหน็ ความไมม่ ตี วั ตนแบบนแี้ ลว้ ตวั ไมไ่ ดบ้ อกวา่ เป็นของเรา จิตไม่ได้บอกว่าเป็นของเรา แล้วรู้สึกเบา รู้สึกสบาย รู้สึกโล่ง รู้สึกโปร่ง รู้สึกว่ามีความสุข การได้เห็นความจริงว่ารูปนามเป็นคนละส่วนกัน ไม่ใช่ของเรา แล้วจิตมีความปีติ มีความเบิกบาน มีความผ่องใสเกิดขึ้น อันนี้คือผลที่เกิดขึ้นโดยตรง ก็คือจิตมีความสุข มีความเบิกบาน มีความ ผ่องใส มีความปีติเกิดขึ้น
แต่อีกจุดหนึ่งที่ผู้ปฏิบัติพึงพิจารณาหรือทาความเข้าใจก็คือว่า ในเมื่อรูปกับนาม/กายกับใจ ไม่บอกว่าเป็นเรา ไม่บอกว่าเป็นเขาแล้ว เรา ควรจะปฏิบัติตัวอย่างไรกับสิ่งที่เกิดขึ้น ? ในเมื่อรับรู้อย่างไม่มีตัวตนแล้ว ความทกุ ขไ์ มเ่ กดิ ขนึ้ มคี วามสบาย จติ ใจสงบ แลว้ ควรจะวางใจอยา่ งไรกบั
19































































































   23   24   25   26   27