Page 26 - แนวทางการปฏิบัติธรรม
P. 26

20
อารมณ์ที่เข้ามากระทบ ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ในชีวิตประจาวัน ของเรา ? ลองสงั เกตดสู วิ า่ สงิ่ ทเี่ ราเคยคดิ เคยเขา้ ใจวา่ เปน็ ของเรามาตลอด ไม่ว่าจะเป็นกาย ไม่ว่าจะเป็นลมหายใจ หรือแม้แต่จิตเอง ก็ยังไม่บอกว่า เปน็ เราเลย เปน็ แตเ่ พยี งธรรมชาตอิ ยา่ งหนงึ่ ทเี่ กดิ ขนึ้ มาตามเหตปุ จั จยั แลว้ ทาหน้าที่ของตน ๆ อยู่ กาลังเป็นไปตามปกติ จิตนั้นไม่ว่าอะไรเกิดขึ้นมา เขาก็ทาหน้าที่รู้ มีเสียงเกิดขึ้น...ก็รู้เสียง มีเวทนามีความปวดเกิดขึ้นมา... เขาก็รู้เวทนารู้ความปวดอันนั้น มีความเย็นเกิดขึ้น...เขาก็รู้ความเย็น มี ความร้อนเกิดขึ้น...เขาก็รู้ความร้อน มีความเฉย ไม่มีอะไร ว่าง ๆ...เขาก็ ทา หนา้ ทรี่ บั รคู้ วามวา่ งความเฉยไป นนั่ คอื ธรรมชาตขิ องจติ สว่ นธรรมชาติ ของกายกเ็ ชน่ เดยี วกนั เวลาเครง่ ตงึ ขนึ้ มา...เราหา้ มไมใ่ หต้ งึ กไ็ มไ่ ด้ พอรอ้ น ขึ้นมา...บอกให้หยุดก็ไม่ได้ พอมีความเย็น ความร้อน ความเคร่งตึงเกิด ขึ้นมา เขาก็ทาหน้าที่ของเขาไป ตรงนี้เป็นสภาวธรรมเป็นสัจธรรมที่เกิดขึ้น แล้วเราควรจะวางใจอย่างไร ควรจะปฏิบัติตัวอย่างไรกับสิ่งที่เกิดขึ้น เพื่อไม่ให้เกิดความทุกข์ เพื่อไม่ให้เครียดหรือไม่ให้ถูกกดดันมากไป ?
แตอ่ กี จดุ หนงึ่ ทเี่ ราพงึ พจิ ารณากค็ อื วา่ การแยกรปู นาม การเหน็ ถงึ ความเป็นคนละส่วน เห็นจิตกับกายเป็นคนละส่วนกัน เห็นจิตกับอารมณ์ ที่เกิดขึ้นเป็นคนละส่วนกันแล้ว ทาให้จิตสบาย โดยที่ไม่ต้องทาอะไรเพิ่มเติม แค่สังเกตความจริงตรงนี้ จิตก็มีความสุขแล้ว มีความสบายแล้ว แล้วเราจะไป หาอะไรเพื่อให้สบายมากกว่านี้ ? ลองสังเกตดูสิว่า เราพยายามทาอะไร ตา่ ง ๆ อยากไดส้ งิ่ นนั้ สงิ่ นมี้ า กเ็ พอื่ ใหเ้ กดิ ความสขุ ความสบาย การทเี่ ราได้ ทาอะไรตามใจ ได้ใช้จ่ายตามใจโดยที่เราไม่ลาบาก เราก็มีความสบายอย่างหนึ่ง แต่การแยกรูปนามแล้วจิตมีความสุข มีความอิ่มใจ ความสบายใจเกิดขึ้น จากธรรมะ จากการคลายอุปาทาน จากการเห็นสัจธรรมตรงนี้
































































































   24   25   26   27   28