Page 28 - แนวทางการปฏิบัติธรรม
P. 28

22
พอพจิ ารณาแบบนี้ เรากจ็ ะไดร้ วู้ า่ เราควรจะละอะไร ควรจะปลอ่ ย อะไร ลดอะไรออกไป เพื่อให้จิตเราสงบขึ้น เพื่อให้ภาระเราน้อยลง การ ดาเนินชีวิตของเราก็จะง่ายขึ้น อะไรที่ไม่จาเป็นหรือไม่เป็นสาระ ค่อย ๆ ลดออกไป ถ้าเราปฏิบัติ จิตเรามีความสงบ สติ-สมาธิแก่กล้าขึ้น มีความ ตงั้ มนั่ มคี วามเดด็ เดยี่ วขนึ้ เวลาจะตดั อะไร จะละอะไร กจ็ ะมคี วามเขม้ แขง็ เด็ดขาด ไม่มีอาการยืดเยื้อ ไม่มีเยื่อใย เหมือนกับมีอาวุธ มีมีดที่คม ตัดแล้วตัดขาด เพราะมีความเด็ดขาด มีความตั้งมั่น ยิ่งปัญญาเห็นคมชัด แล้ว เวลาละก็จะละได้ง่ายขึ้น นั่นแหละคือการปฏิบัติธรรม การเจริญ วปิ สั สนากรรมฐานนนั้ เปน็ วธิ กี ารทจี่ ะทา ใหเ้ ราพฒั นาสติ สมาธิ และปญั ญา ของเราให้แก่กล้า หรือให้แก่กล้าขึ้น ให้ดียิ่ง ๆ ขึ้นไปนั่นเอง ถ้าเราไม่ได้ ต้องการอะไรมาก แค่ต้องการความสงบ... แค่ต้องการความสงบก็ดีแล้ว กใ็ หพ้ อใจ มอี ารมณห์ ลกั ใหก้ บั จติ ทา อยา่ งนแี้ หละ สงิ่ ทพี่ ดู มาเปน็ สภาวะที่ จะเกิดขึ้นตอนที่ผู้ปฏิบัติธรรมนั่งสมาธิหรือเจริญกรรมฐาน อย่างไรก็เกิด เพราะเป็นธรรมชาติของชีวิต เป็นธรรมชาติของขันธ์ห้า เพราะฉะนั้น เมื่อรู้แล้ว เราจะได้ไม่ต้องกังวล เวลามีความคิดเกิดขึ้นมา จะได้ไม่ต้อง หงุดหงิดกับความคิด เอาความคิดนี่แหละมาเป็นอารมณ์กรรมฐานเลย
สมมติว่า วันก่อนเรานั่งกรรมฐานกาหนดดูลมหายใจ ทาได้ดีมากเลย หรอื กา หนดอาการพองยบุ ไดท้ งั้ บลั ลงั ก์ จติ มคี วามสงบมากเลย ดี รสู้ กึ ไมม่ ี อะไรรบกวน พอมาวันนี้ แค่เริ่มหลับตาเท่านั้นแหละความคิดมาก่อนแล้ว ถา้ เปน็ อยา่ งนนั้ เรากต็ งั้ สติ อยา่ งไรเรากต็ อ้ งนงั่ ตอ้ งปฏบิ ตั อิ ยแู่ ลว้ กก็ า หนด ความคิดนี้แหละ เริ่มจากความคิดก่อน ลมหายใจไว้ทีหลัง ถ้าความคิด น้อยลง เดี๋ยวอาการพองยุบก็ชัดขึ้นเอง เดี๋ยวเขาก็เปลี่ยนเอง หรือไม่เรา อาจจะกา หนดรคู้ วามคดิ แลว้ จติ เราละเอยี ด จนตวั หายไป ความคดิ หายไป
































































































   26   27   28   29   30