Page 138 - เกณฑ์วิธีและแนวปฎิบัติตามคำสั่งการแพทย์
P. 138
ภาคผนวกที่ 18: ขcอหcามในการใหcยา rtPA
การรักษาผู5ปHวยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลัน (acute ischemic stroke) คือ การให 5
ยาละลายลิ่มเลือด (thrombolytic agent) เพื่อให5เลือดกลับไปเลี้ยงสมองส7วนที่ขาดเลือด (reperfusion
of cerebral blood flow) ให5เร็วที่สุด ซึ่งยาละลายลิ่มเลือดที่ได5รับการยอมรับเปLนยามาตรฐาน คอ
ื
recombinant tissue plasminogen activator (rtPA) ซึ่งผู5ปHวยที่ได5รับการรักษาด5วยยา rtPA ทาง
หลอดเลือดดำ (intravenous rtPA) มีผลการรักษาที่ดี คือ ลดความพิการ โดยผู5ปHวยจะต5องได5รับการ
รักษาด5วยยา rtPA ภายใน 4.5 ชั่วโมง หลังเกิดอาการของโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลัน ซึ่งการ
รักษาด5วยยา rtPA นี้มีข5อจำกัด เนื่องจากยามีทั้งข5อดีและข5อเสีย ในการพิจารณาให5ยาแก7ผู5ปHวยจึงต5อง
ประเมินความเสี่ยงหรือข5อห5ามของการให5ยาอย7างระมัดระวัง เพื่อให5ผู5ปHวยได5รับการรักษาที่ดีที่สุด
ตาราง 16: ขBอหBามของการใหBยา rtPA ในผูBปNวยที่มีอาการนBอกวQา 4.5 ชั่วโมง
(Exclusion criteria with onset less than 4.5 hours)
ลำดับ รายการ มี ไมQม ี
ขBอหBามสมบูรณë (Absolute contraindications) ที่มีอาการนBอยกวQา 4.5 ชั่วโมง
1 มีประวัติเกิดอุบัติเหตุที่ศีรษะรุนแรง (severe head injury) หรือเคยเกิดโรค
หลอดเลือดสมองภายใน 3 เดือน
2 ได5รับการผ7าตัดสมองหรือไขสันหลังภายใน 3 เดือน
3 อาการแสดงที่สงสัยว7ามีภาวะเลือดออกในเยื่อหุ5มสมอง (subarachnoid
hemorrhage)
4 มีประวัติเลือดออกภายในกะโหลกศีรษะ (intracranial hemorrhage)
5 ความดันโลหิตซิสโตลิค มากกว7า 185 มิลลิเมตรปรอท หรือ ไดแอสโตลิค
มากกว7า 110 มิลลิเมตรปรอท โดยไม7สามารถลดความดันโลหิตได5ด5วยยาลด
ความดันทางหลอดเลือดดำ
6 มีเลือดออกภายในร7างกายอย7างต7อเนื่อง
7 มีภาวะเสี่ยงต7อการมเลือดออกไดง7าย ประกอบด5วย
5
ี
8.1 เกล็ดเลือดน5อยกว7า 100000 ต7อลบ.มม. หรือ
8.2 INR มากกว7า 1.7 หรือ
8.3 aPTT มากกว7า 40 วินาที PT มากกว7า 15 วินาที หรือ
8.4 ได5รับ heparin ในช7วง 48 ชั่วโมง เปLนผลให5 aPTT ผิดปกติ หรือ
8.5 ใช5ยาปzองกันเลือดแข็งตัวและมีค7า INR มากกว7า 1.7 หรือ PT มากกว7า 15
วินาท ี
แนวปฏิบัติสำหรับหน.วยปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย7 เขตสุขภาพที่ 2 พ.ศ. 2565 123
OFFLINE EMS MEDICAL PROTOCOLS OF PUBLIC HEALTH REGION 2