Page 117 - ขอเสนอเชงนโยบายเพอสนบสนนฯ e-book 1_Neat
P. 117
6.2 การพัฒนานวัตกรรม
เมื่อพิจำรณำภำพรวมสถำนภำพในส่วนของกำรลงทุนวิจัยและนวัตกรรมของ
ประเทศพบว่ำ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตำมล�ำดับ (ภำพที่ 6-8) ซึ่ึ่งจะเห็นได้ว่ำ มูลค่ำ
กำรลงทุนด้ำนวิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทยมีมูลค่ำร้อยละ 1.11 ของ GDP
ในปี 2561 หรือเป็นจ�ำนวนเงินประมำณ 182,357 ล้ำนบำท อย่ำงไรก็ดี เมื่อพิจำรณำ
รำยละเอียดของข้อมูลกำรลงทุนกำรวิจัยและพัฒนำของภำคเอกชนพบว่ำ ในปี 2560
มีมูลค่ำรวมประมำณ 123,942 ล้ำนบำท ซึ่ึ่งเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่ำเมื่อเทียบกับปี 2558
แต่ส่วนใหญ่เป็นกำรลงทุนในอุตสำหกรรมเป้ำหมำยที่มีศักยภำพเดิม โดยยังไม่ปรำกฎ
สัดส่วนอย่ำงมีนัยส�ำคัญของกำรลงทุนในกำรวิจัยและนวัตกรรมในอุตสำหกรรม
เป้ำหมำยในอนำคต นอกจำกนี้ในช่วงปี 2559 - 2561 มูลค่ำเพิ่มภำคอุตสำหกรรม
ของไทยเติบโตเหลือเพียงร้อยละ 1 ต่อปี โดยเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในภูมิภำค
ซึ่ึ่งเติบโตถึงร้อยละ 1.5-3 ต่อปีแล้ว ประเทศไทยจ�ำเป็นต้องใช้นวัตกรรมในกำร
ขับเคลื่อนมูลค่ำเพิ่มภำคอุตสำหกรรมให้เติบโตมำกกว่ำเดิม
นอกจำกนี้ เมื่อพิจำรณำข้อมูลสัดส่วนกำรลงทุนกำรวิจัยและนวัตกรรมของ
ภำคเอกชนต่อภำครัฐพบว่ำ เพิ่มขึ้นอย่ำงต่อเนื่องจำก 70:30 ในปี 2558 เป็น 78:22
ในปี 2561 แต่เมื่อพิจำรณำข้อมูลอันดับควำมสำมำรถด้ำนนวัตกรรมของไทยตำมดัชนี
ชี้วัด Global Innovation Index (GII) ในปี 2563 พบว่ำ ประเทศไทยอยู่ในอันดับ
44 ซึ่ึ่งปรับลดลงหนึ่งอันดับจำกปีก่อนหน้ำ และถึงแม้ว่ำปัจจัยศักยภำพทำงกำร
ตลำดศักยภำพทำงธุรกิจ และสัดส่วนบริษัทที่ใช้นวัตกรรมจะมีกำรปรับตัวเพิ่มขึ้น
แต่ผู้ประกอบกิจกำรขนำดกลำงและขนำดย่อม (SMEs) ยังคงเน้นใช้เทคโนโลยี
ขั้นต้นในกำรผลิตมำกกว่ำลงทุนเพื่อพัฒนำนวัตกรรม ท�ำให้ไม่สำมำรถเพิ่มมูลค่ำ
ของผลิตภัณฑ์์ ตลอดจนผลิตภำพ (Productivity) อันจะน�ำไปสู่กำรลดต้นทุนกำรผลิต
และเพิ่มขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันในภำพรวม
นักศึกษา วปอ. รุ่นที่ 63 115