Page 120 - ขอเสนอเชงนโยบายเพอสนบสนนฯ e-book 1_Neat
P. 120

ด้านอุตสาหกรรม เปลี่ยนผ่ำนไปสู่ Smart Factory อุตสำหกรรมที่เพิ�มผลผลิต สร้ำง
                นวัตกรรมโดยค�ำนึงถึงกำรใช้ประโยชน์จำกเทคโนโลยี 5G ร่วมกับ IoT ประมวลผลด้วย Big Data/AI

                ในกระบวนกำรผลิตและกำรบริหำรจัดกำร รวมถึงกำรใช้ประโยชน์จำกเทคโนโลยี AR/VR เพื่อเพิ่ม
                ควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน เพิ่มทักษะสมัยใหม่ และเพิ่มมูลค่ำโดยส่งเสริมสนับสนุนกำรสร้ำงนวัตกรรม
                ภำยใต้กรอบแนวคิด BCG เพื่อเพิ่มขีดควำมสำมำรถในกำรสร้ำงสรรค์ผลิตภัณฑ์์

                       ด้านบริการและการให้บริการทางการแพทย์ ปรับเปลี่ยนจำก Traditional Services

                ไปสู่ High-Value Services และรองรับกำรให้บริกำรทำงกำรแพทย์ส�ำหรับผู้สูงวัย โดยส่งเสริมนวัตกรรม
                ด้ำนบริกำรโดยใช้เทคโนโลยี 5G ร่วมกับ Digital Platform รวมถึงประยุกต์ใช้ AR/VR ในกำรให้บริกำร
                ต่ำง ๆ นอกจำกนี้ในกำรพัฒนำนวัตกรรมด้ำนบริกำรและกำรให้บริกำรทำงกำรแพทย์ จะต้องค�ำนึงถึง

                ควำมยั่งยืนและสิ่งแวดล้อมตำมแนวคิด BCG ด้วย

                       ด้านการศึกษา ส่งเสริมกำรพัฒนำนวัตกรรมทำงด้ำนกำรศึกษำในทุกช่วงวัย กำรเรียนรู้
                ตลอดชีวิต โดยกำรกำรสร้ำงนวัตกรรมบน Digital Platform และใช้ประโยชน์จำก 5G และ VR/AR

                ทั้งในระบบกำรเรียนกำรสอนและกำรท�ำวิจัย

                       ด้านพลังงาน ส่งเสริมกำรผลิตพลังงงำนสีเขียว (Green Energy) ตำมหลักกำร BCG
                มีกำรบริหำรจัดกำรพลังงำนอย่ำงมีระบบ โดยส่งเสริมกำรพัฒนำนวัตกรรมบนเทคโนโลยี 5G/IoT
                กำรสร้ำง Digital Platform และกำรประมวลข้อมูลขนำดใหญ่ (Big Data) ด้วยปัญญำประดิษฐ์ (AI)

                       ด้านโลจิสติกส์ สนับสนุนกำรสร้ำงนวัตกรรมโดยใช้ประโยชน์จำก Digital Platform โดยค�ำนึง

                ถึงหลักกำรที่สอดคล้องกับโมเดลเศรษฐกิจสู่กำรพัฒนำที่ยั่งยืน และกำรใช้ประโยชน์จำกเทคโนโลยี
                5G และ IoT เพื่อให้ไทยเป็นศูนย์กลำงของภูมิภำคด้ำนโลจิสติกส์เพื่อเชื่อมโยง “กำรขนส่งต่อเนื่อง
                หลำยรูปแบบ”

                       ประเทศไทยพยำยำมเพิ่มค่ำใช้จ่ำยในกำรวิจัยพัฒนำ (ตำมภำพที่ 6-9) โดยมีประมำณกำร

                ค่ำใช้จ่ำยประมำณร้อยละ 2.26 ของ GDP ในปี 2570  ซึ่ึ่งน้อยกว่ำประเทศมำเลเซึ่ียที่มีกำรประมำณ
                กำรมำกกว่ำร้อยละ 2.9 ดังนั้น กำรขับเคลื่อนประเทศไปสู่เป้ำหมำยตำมยุทธศำสตร์ชำติ 20 ปี
                โดยมีเทคโนโลยีดิจิทัลและนวัตกรรมเป็นกลไกส�ำคัญ จ�ำเป็นต้องให้ควำมส�ำคัญกับ 3 ปัจจัยกล่ำวคือ

                ประกำรแรก ต้องมีงบประมำณวิจัยและพัฒนำเพียงพอที่จะขับเคลื่อนนวัตกรรมใหม่ และประกำรที่สอง
                ต้องจัดสรรงบประมำณที่เหมำะสมกับงำนนวัตกรรมเชิงนโยบำยในกำรใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในกำร

                ขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคม นอกจำกนี้ประกำรสุดท้ำย ต้องสร้ำงแรงจูงใจให้ภำคเอกชนลงทุนเพิ่ม
                ในนวัตกรรมใหม่เพื่อสร้ำงมูลค่ำ เพิ่มผลิตภำพ และเพิ่มขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน













          118     ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2566 - 2570)
   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125