Page 118 - ขอเสนอเชงนโยบายเพอสนบสนนฯ e-book 1_Neat
P. 118
ภำพที่ 6-8 กำรลงทุนด้ำนวิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย
ที่มำ: ส�ำนักงำนกำรวิจัยแห่งชำติ, 2563
เทคโนโลยีดิจิทัลและอินเทอร์เน็ตเป็นแกนกลำงส�ำคัญในกำรพัฒนำอุตสำหกรรมกำรผลิต
และกำรบริกำร ช่วยลดต้นทุนกำรผลิต รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภำพ และเพิ่มควำมสะดวก รวดเร็ว ทั่วถึง
โดยปรำศจำกข้อจ�ำกัดของระยะทำงและเวลำ เป็นสำธำรณูปโภคพื้นฐำนที่ส�ำคัญทำงเศรษฐกิจ
กำรเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตส่งผลให้สินค้ำและบริกำรสำมำรถเข้ำถึงผู้บริโภคได้ทั่วโลกโดยไม่จ�ำกัด
ช่วยอ�ำนวยควำมสะดวกในกำรส่งผ่ำนข้อมูลข่ำวสำรและกำรศึกษำ ลดช่องว่ำงและสร้ำงโอกำสให้แก่
ประชำชนโดยไม่จ�ำกัดด้วยระยะทำงและสถำนที่ เพิ่มขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน นอกจำกเทคโนโลยี
ดิจิทัลและอินเทอร์เน็ตแล้ว กำรขับเคลื่อนเศรษฐกิจสังคมของโลกยุคใหม่ยังให้ควำมส�ำคัญกับ
ควำมยั่งยืนเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ดังนั้น ในกำรส่งเสริมกำรพัฒนำนวัตกรรม นอกจำกต้องค�ำนึงถึง
กำรใช้ประโยชน์จำกเทคโนโลยีดิจิทัลและกำรปรับเปลี่ยนโครงสร้ำงเศรษฐกิจไปสู่เศรษฐกิจ
ที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม (Innovation-Driven Economy) แล้ว ยังจ�ำเป็นต้องพิจำรณำ
ให้สอดคล้องกับโมเดลเศรษฐกิจสู่กำรพัฒนำที่ยั่งยืน (Bio-Circular-Green Economy หรือ
BCG) เพื่อสร้ำงมูลค่ำเพิ่มและสร้ำงกำรยอมรับในประชำคมโลก มีกำรพัฒนำนวัตกรรมที่ตอบโจทย์
116 ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2566 - 2570)