Page 9 - กรมศุลกากร ประจำปี 2562
P. 9
การเก็บค่าธรรมเนียมปากเรือเปลี่ยนมาเป็น ในที่เดิมโดยมีนายช่างชาวอิตาเลียนชื่อ มิสเตอร์
เก็บสินค้าขาเข้า โดยเรียกเก็บในอัตรา 100 กราสสี เป็นผู้ออกแบบรับเหมาก่อสร้าง
ชัก 3 ซึ่งเรียกกันว่า “ ภาษีขาเข้าร้อยชักสาม ” อาคารศุลกสถานแห่งใหม่นี้
และตามข้อตกลงนี้มีผลกระทบกับการตกลง อย่างไรก็ตาม เมื่อพระบาทสมเด็จ
ท�าสัญญาทางการค้ากับชาติอื่นๆ ต่อมา พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณา
เพราะต่างก็ร้องขอที่จะให้ใช้วิธีการเดียวกับ โปรดเกล้าฯ ให้ตรา “พระราชบัญญัติ
ที่ท�าสัญญากับอังกฤษทั้งสิ้น การเปลี่ยนแปลง พระธรรมนูญน่า*ที่ราชการ กระทรวงพระคลัง
เช่นนี้ท�าให้รัฐต้องขาดรายได้จากภาษี มหาสมบัติ” ขึ้นเมื่อรัตนโกสินทร์ศก 109
ศุลกากรไปเป็นจ�านวนมาก (พ.ศ. 2433) และมีข้อก�าหนดให้กระทรวง
ด้วยข้อจ�ากัดเรื่องการเก็บภาษี พระคลังมหาสมบัติมีหน้าที่จ่ายและรักษา
ขาเข้าขาออกและข้อก�าหนดให้ยกเลิกการค้า เงินแผ่นดินรวมทั้งราชพัสดุทั้งปวง ตลอดจน
ผูกขาดโดยพระคลังสินค้าอันเป็นผลมาจาก รักษาพระราชทรัพย์ของแผ่นดินทั้งหมด
การท�าสนธิสัญญาเบาริงเป็นต้นมา เมื่อรวม เก็บและรับผิดชอบเงินภาษีอากรและเงิน
กับปัญหาระบบการเก็บระบบเดิมท�าให้ ขึ้นต่อแผ่นดินตลอดพระราชอาณาจักร
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แบ่งหน่วยงาน ออกเป็น 13 กรม โดยมี
ต้องทรงปฏิรูประบบการจัดเก็บภาษีอากรใหม่ กรมศุลกากรเป็นกรมหนึ่งในแผนก “กรมเจ้า
โปรดให้จัดตั้ง “หอรัษฎากรพิพัฒน์” ขึ้นโดยให้ตรา จ�านวนเก็บเงินภาษีอากร” มีหน้าที่เก็บเงินภาษี
“พระราชบัญญัติส�ารับ*หอรัษฎากรพิพัฒน์” อากรขาเข้าขาออก ซึ่งเก็บจากผู้บรรทุกสินค้า
จ.ศ. 1235 (พ.ศ. 2416) และพระราชบัญญัติ ออกไปต่างประเทศและที่บรรทุกเข้ามาขาย
ส�าหรับกรมพระคลังมหาสมบัติ จ.ศ. 1237 ในประเทศ
(พ.ศ. 2418) เพื่อรวบรวมเงินรายได้และวาง ในปี พ.ศ. 2435 ได้มีการปรับปรุง
ระเบียบการรับส่งและการเบิกจ่ายเงินที่เคย ส่วนราชการภายในกระทรวงพระคลัง
กระจายอยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยงาน มหาสมบัติอีกครั้ง ซึ่งได้ก�าหนดให้กรม
ต่าง ๆ ให้มารวมอยู่ที่เดียวกัน ที่มีหน้าที่จัดเก็บภาษีอากรโดยตรง 3 กรม
หอรัษฎากรพิพัฒน์ ตั้งอยู่ใน คือ กรมสรรพภาษี กรมสรรพากร และ
พระบรมมหาราชวัง โดยมีสมเด็จพระเจ้า กรมศุลกากรโดยกรมศุลกากรมีหน้าที่เก็บ
บรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามหามาลา กรมพระ ภาษีขาเข้าและขาออก พร้อมกับมีการตรา
บ�าราบปรปักษ์ ทรงมีอ�านาจสิทธิขาดในการ ข้อบังคับส�าหรับการศุลกากร พ.ศ. 2435 เพื่อ
รวบรวมเงินภาษีอากรและเป็นผู้ควบคุมการ ก�าหนดแบบธรรมเนียมในการเก็บภาษีสินค้า
ปฏิบัติงานของเจ้าพนักงานบัญชีกลางและ ขาเข้าและขาออก
ด�าเนินการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติ ในช่วงระยะเวลานับแต่นี้ถือว่าเป็น
แต่เดิมการเก็บภาษีขาเข้ากับภาษีขาออกนั้น ประวัติความก้าวหน้าด้านศุลกากรที่ส�าคัญ
มีหน่วยงานแยกกันท�าหน้าที่อยู่ ต่อมาจึงได้ อันเป็นผลมาจาก การปรับปรุงราชการใน
รวมการเก็บภาษีขาเข้าและภาษีขาออก กรมศุลกากรนับแต่ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
เข้าเป็นหน่วยงานเดียวกัน แต่หลักฐานการ ให้หม่อมเจ้าพร้อม ที่ต่อมาภายหลังคือ
เรียกชื่อหน่วยงานศุลกากรในช่วงนั้นยังไม่ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพร้อมพงศ์อธิราช
เจ้าอยู่หัวนั้น ได้เกิดข้อเปลี่ยนแปลงทางการค้า ชัดเจน มีค�าเรียกว่าโรงภาษีขาเข้าขาออกก็มี มาด�ารงต�าแหน่งอธิบดีกรมศุลกากร โดยอาจ
กับต่างประเทศครั้งส�าคัญ กล่าวคือ ผู้ส�าเร็จ กรมศุลกสถานก็มี กรมศุลกากรก็มี และเรียก วัดได้จากเงินภาษีที่สามารถเก็บได้เพิ่มขึ้น
ราชการอินเดียของอังกฤษได้ส่ง เฮนรี่ เบอร์นี ผู้บังคับบัญชาการว่า ผู้บัญชาการภาษีขาเข้าขาออก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2436 – 2460 นั้นมีจ�านวน
เข้ามาเจริญพระราชไมตรี และเจรจาขอ บ้าง อธิบดีผู้บัญชาการกรมศุลกากรบ้าง เพิ่มมากขึ้นถึง 10 เท่า
เปลี่ยนแปลงสัญญาทางการค้า โดยขอให้มี ผู้บัญชาการกรมศุลกสถานบ้าง ดังนี้เป็นต้น ถึงแม้กรมศุลกากรจะสามารถเก็บเงิน
การจัดเก็บภาษีตามขนาดของปากเรือเพียง โดยสันนิษฐานว่า พระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค) ภาษีเป็นเงินรายได้แผ่นดินมากขึ้นดังกล่าว
ครั้งเดียว เป็นผู้บัญญัติคิดค�าว่า“ศุลกากร” ขึ้นให้ตรง แล้วก็ตาม แต่เมื่อเทียบกับรายได้และรายจ่าย
จนกระทั่งถึงรัชสมัยพระบาท กับค�าในภาษาอังกฤษว่า “Customs” ส่วน ทั้งหมดเพื่อน�าไปพัฒนาประเทศแล้วก็ยังนับว่า
สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อังกฤษจึงได้ ที่ท�าการกรมศุลกากรในช่วงนี้ได้ย้ายจาก ไม่เพียงพอ ทั้งนี้ยังมีสาเหตุมาจากระบบภาษี
ส่ง เซอร์จอห์น เบาริง เป็นอัครราชทูตเข้ามา ที่ท�าการเดิมที่เรียกกันว่า “โรงภาษี” ที่ปากคลอง อากร ซึ่งได้แก่ ภาษีศุลกากร ที่ยังคงต้อง
ท�าสนธิสัญญาทางการค้าเมื่อพุทธศักราช ผดุงกรุงเกษม ไปยังที่ท�าการแห่งใหม่เรียกว่า ปฏิบัติตามข้อผูกพันในสนธิสัญญาไม่เสมอภาค
2398 อีกครั้ง ข้อความในสนธิสัญญาเบาริง “โรงภาษี ขาเข้าขาออก” หรือ “ศุลกสถาน” ตั้งแต่ พ.ศ. 2399 เป็นต้นมา ท�าให้รายได้จากการ
ที่เกี่ยวกับภาษีศุลกากร ก็คือ การให้ยกเลิก และต่อมาได้สร้างอาคารที่ท�าการเป็นตึกใหม่ เก็บภาษีศุลกากรมีไม่มากเท่าที่ควร
หมำยเหตุ : ส�ำรับ*, น่ำ* เป็นภำษำกฎหมำยโบรำณ แสดงในรำชกิจจำนุเบกษำ THE CUSTOMS DEPARTMENT ANNUAL REPORT 2019 7