Page 104 - เอกสารกองทนสขภาพตำบล
P. 104

99


                                                    ตัวอย่ำงโครงกำร 3

               แบบเสนอแผนงำน/โครงกำร/กิจกรรม  กองทุนหลักประกันสุขภำพองค์กำรบริหำรส่วนต ำบล....................
               เรื่อง  ขอเสนอโครงการพัฒนาเด็กปฐมวัย...กินกอด...เล่าเล่น...ปลอดภัยเพื่อพัฒฯเด็กปฐมวัย ปี 2563
               เรียน  ประธานกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนต าบล...............................
                          ด้วย  ศูนย์สุขภาพชุมชนต าบล.....โรงพยาบาล....มีความประสงค์จัดท าโครงการพัฒนาเด็กปฐมวัย...กินกอด...เล่าเล่น
               ...ปลอดภัยเพื่อพัฒฯเด็กปฐมวัย ปี 2563 โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลัก ประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วน
               ต าบล....จ านวน...บาท (.........) โดยมีรายละ เอียดโครงการดังนี้
               ส่วนที่ 1 รำยละเอียดแผนงำน/โครงกำร/กิจกรรม(ส ำหรับผู้เสนอแผนงำน/โครงกำร/กิจกรรม ลงรำยละเอียด )
               หลักกำรและเหตุผล
                        พัฒนาการของเด็กปฐมวัยเริ่มตั้งแต่ปฏิสนธิจนถึงอายุ 6 ปี เด็กวัยนี้ เป็นวัยที่ร่างกายและสมองก าลังเจริญเติบโต

               อย่างเต็มที่ เด็กจึงต้องการความรัก ความเอาใจใส่ การดูแลอย่างใกล้ชิดรวมถึงจัดประสบการณ์ต่างๆ ที่ช่วยส่งเสริมให้เด็กมี
               พัฒนาการอย่างเต็มศักยภาพตามช่วงวัยและความแตกต่างของแต่ละบุคคล   การทุ่มสรรพก าลังให้กับการพัฒนาเด็กปฐมวัย
               ถือเป็นภารกิจอันส าคัญยิ่งของชุมชนและสังคม เพราะพัฒนาการทุกด้านในช่วง 5 ขวบปีแรกของชีวิตหรือวัยก่อนเข้าเรียนชั้น
               ประถมศึกษาปีที่ 1 ที่มักเรียกกันว่า “ช่วงปฐมวัย” คือ “โอกาสทอง” ที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่เหลือทั้งหมดของมนุษย์แต่ละ
               คน และส่ง ผลต่ออนาคตของสังคม ซึ่งได้รับการพิสูจน์จากนักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบลอย่าง ศ.ดร.เจมส์ เจ เฮคแมน ว่า การ
               ลงทุนพัฒนาเด็กปฐมวัยเป็นการลงทุนที่คุ้มค่าให้ผลตอบแทนแก่สังคมดีที่สุดในระยะยาว โดยคืนผลตอบแทนกลับคืนมาใน

               อนาคตมากถึง  เท่า รัฐบาลโดย 4 กระทรวงหลัก (มหาดไทย ศึกษาธิการ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และ
               สาธารณสุข) ได้บูรณาการความร่วมมือการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ให้ความส าคัญอย่างยิ่งกับการพัฒนาเด็กกลุ่มปฐมวัย
               เพื่อให้เติบโตเป็นคนไทยที่มีปัญญาที่เฉียบแหลม (Head) มีทักษะที่เห็นผล (Hand) มีสุขภาพที่แข็งแรง (Health) และมีจิตใจที่
               งดงาม (Heart) ท้องถิ่นซึ่งอยู่ใกล้ประชาชนมากที่สุด สามารถด าเนินการหรือพัฒนาเด็กปฐมวัยได้โดยลงทุนผ่านศูนย์พัฒนา
               เด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาลที่อยู่ในความรับผิดชอบ 20,644 แห่ง ซึ่งดูแลเด็กปฐมวัย 1,048,501 คน 2 หรือมากกว่าร้อยละ
               30 เด็กอายุ 2-5 ปี
                        นอกจากนั้นท้องถิ่นยังสามารถด าเนินการเชิงรุกออกไปในชุมชน/พื้นที่รับผิดชอบเพื่อดูแลเด็กปฐมวัย เสริมเพิ่มเติม
               จากการดูแลของหน่วยงานงานอื่นหรือครอบครัวได้ การพัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/โรงเรียนอนุบาล และการดูแลด้านสุขภาพ

               ที่ส าคัญส าหรับเด็กปฐมวัย ซึ่งท้องถิ่นสามารถลงทุนหรือด าเนินการได้ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาล มีดังนี้ การ
               ส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโต, การส่งเสริมและติดตามพัฒนาการ และการส่งเสริมและดูแลสุขภาพ ซึ่งมีกิจกรรมดังนี้
               สุขภาพช่องปาก, การตรวจคัดกรองภาวะโลหิต ,การตรวจคัดกรองภาวะสายตาผิดปก และการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
               การเพิ่มความปลอดภัยและการป้องกันอุบัติเหตุในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และการพัฒนาศูนย์เด็กเล็ก/โรงเรียนอนุบาลให้ได้
               มาตรฐานศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ

               วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
                        1.  เพื่อให้เด็กปฐมวัยเติบโตเต็มวัย ลดภาวะทุพโภชนาการ(ผอม/เตี้ย)
                        2.  เพื่อให้เด็กปฐมวัย มีพัฒนาการสมวัย
                        3.  เพื่อให้เด็กปฐมวัย ได้รับการดูแลสุขภาพที่ส าคัญตามชุดสิทธิประโยชน์การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
                        4.  เพื่อลดการเกิดอุบัติเหตุในเด็กเล็ก

                        5.  เพื่อพัฒนาศูนย์เด็กเล็ก/โรงเรียนอนุบาลให้ได้มาตรฐานศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ
                  กลุ่มเป้ำหมำย
                        1.  เด็กอายุ 0-5 ปีในชุมชน และเด็กอายุ 2-5 ปีในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/โรงเรียนอนุบาลและในชุมชน
                        2.  หญิงตั้งครรภ์/หญิงให้นมบุตรในชุมชน




                          ส ำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัดอุบลรำชธำนี

                                                          คู่มือกำรปฏิบัติงำนกองทุนหลักประกันสุขภำพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ 2563
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109