Page 107 - เอกสารกองทนสขภาพตำบล
P. 107

102


                                    ครบทุกด้าน ตามคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย หากพบว่ามีพัฒนาการล่าช้า ให้
                                    ส่งต่อไปยังหน่วยบริการประจ าเพื่อตรวจคัดกรองพัฒนาการ
                                1.4 ครูพี่เลี้ยงเด็กนัดหมายเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจากหน่วยบริการประจ าหรือ รพ สต เพื่อตรวจคัด

                                    กรองพัฒนาการเด็ก ที่มีอายุครบ 9, 18, 30 และ 42 เดือน ในแต่ละเดือน หรือพาเด็กไปที่หน่วย
                                    บริการ หากพบว่าเด็กมีพัฒนาการล่าช้า ครูพี่เลี้ยงร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขให้ค าแนะน าแก่
                                    พ่อแม่/ผู้ปกครอง กระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการในด้านที่ล่าช้า เป็นเวลา 1 เดือน และนัดหมาย
                                    ตรวจคัดกรองซ้ ากับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
                                1.5 ครูพี่เลี้ยงเด็ก/อาสาสมัครผู้สูงอายุ/อาสาสมัคร อ่านนิทานให้เด็กฟังทุกวัน และแนะน าพ่อแม่/ผู้ปกครองเล่า
                                    นิทานให้เด็กฟังอย่างสม่ าเสมอ
                                1.6 ครูพี่เลี้ยงเด็ก/อาสาสมัครผู้สูงอายุ/อาสาสมัคร ปฏิบัติและแนะน าพ่อแม่/ผู้ปกครอง โอบกอดเด็ก
                                    ทุกวัน
                                1.7 จัดเวลาปล่อยให้เด็กได้เล่นอย่างอิสระทั้งในร่มและกลางแจ้ง โดยครูพี่เลี้ยงเด็ก/อาสาสมัคร

                                    ผู้สูงอายุ/อาสาสมัครให้ความช่วยเหลือและดูแลความปลอดภัย
                                1.8 จัดหาเครื่องเล่นเด็ก ที่มีมาตรฐานและปลอดภัย3 ส าหรับติดตั้งที่ศูนย์ฯ/โรงเรียนอนุบาลและใน
                                    ชุมชน เพื่อทดแทนของเก่าที่เสื่อมหรือไม่เคยมี
                                2. ในชุมชน
                                2.1 อปท.ประสานกับหน่วยบริการ ขอรายชื่อเด็กที่ไม่ได้ไปตรวจคัดกรองพัฒนาการหรือมีพัฒนาการ
                                ล่าช้าเพื่อติดตาม

                                   2.2 เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อปท.(หรือจัดหาเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจากหน่วยอื่น)2 ติดตามเด็กที่ยังไม่ได
                                 ตรวจคัดกรองให้ไปรับการตรวจคัดกรองที่หน่วยบริการ หรือหากจ าเป็น เจ้าหน้าที่สาธารณสุข
                                 จัดเตรียมอุปกรณ์ไปตรวจคัดกรองที่บ้าน
                              2.3 เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อปท.(หรือจัดหาเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจากหน่วยอื่น) ติดตาม ให้ค าแนะน า
                              พ่อแม่/ผู้ปกครองในการกระตุ้นพัฒนาการเด็กทั้งเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าและปกติ
                                2.4 เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อปท.(หรือจัดหาเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจากหน่วยอื่น) ติดตาม ให้ค าแนะน า
                                ผู้ปกครองโอบกอดเด็ก อ่านนิทานให้ฟัง และจัดเวลาให้เด็กเล่นอย่างอิสระด้วยความปลดภัย
                              2.5 อปท.. สนับสนุนการจัดอบรมให้ความรู้การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กแก่พ่อแม่/ผู้ปกครอง ครูพี่เลี้ยงเด็ก  อาสาสมัคร
                                ผู้สูงอายุ อาสาสมัคร ฯลฯ

                            กิจกรรมที่ 3 การส่งเสริมและดูแลสุขภาพ
                            1. สุขภำพช่องปำก
                              1.1 การตรวจและเฝ้าระวังสุขภาพช่องปาก :
                                - ครูพี่เลี้ยงเด็ก/ครูผู้ดูแลเด็ก ตรวจความสะอาดช่องปากของเด็กทุกวัน
                                - ตรวจฟันผุเดือนละ 1 ครั้ง
                                - นัดหมายทันตบุคลากร (ทันตภิบาล/ทันตแพทย์) ตรวจสุขภาพช่องปาก ปีละ 2 ครั้ง

                                - แจ้งผลการตรวจให้พ่อแม่/ผู้ปกครองพร้อมให้ค าแนะน า
                              1.2 การแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปาก :
                                - ครูพี่เลี้ยงเด็ก/ครูผู้ดูแลเด็กแนะน าพ่อแม่/ผู้ปกครองพาเด็กที่ไม่ได้รับการตรวจ ไปตรวจสุขภาพช่องปากที่
                                  หน่วยบริการ
                                - เด็กกลุ่มเสี่ยงได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช/ตรวจฟันผุ/ติดตามทุก 6 เดือน โดยทันตบุคลากร ที่





                          ส ำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัดอุบลรำชธำนี

                                                          คู่มือกำรปฏิบัติงำนกองทุนหลักประกันสุขภำพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ 2563
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112