Page 106 - เอกสารกองทนสขภาพตำบล
P. 106

101


                                  กรกฎาคม ส าหรับเด็กที่ไม่ได้อยู่ในศูนย์เด็กเล็ก และนัดหมายพ่อแม่หรือผู้ดูแลเด็ก
                                - อสม.ชั่งน้ าหนักและวัดส่วนสูงทุก 3 เดือน ในกรณีที่เด็กไม่มา ให้ติดตามมาชั่งน้ าหนักและวัดส่วนสูง
                                  ในเดือนนั้น

                                - อสม. / เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อปท บันทึกข้อมูลในโปรแกรมเฝ้าระวังการเจริญเติบโตของเด็ก และรวบรวมข้อมูล
                                  รายงานต่อ อปท.
                                - แจ้งผลการประเมิน พร้อมทั้งอธิบายผลการประเมินและให้ค าแนะน าพ่อแม่/ผู้ดูแลเด็กเพื่อจัดอาหาร
                                  ให้เด็ก
                              2.4 อปท.จัดหาไข่หรือนม สนับสนุนแก่เด็กเตี้ย/ผอม ค่อนข้างเตี้ย/ค่อนข้างผอม โดยให้เด็กเตี้ย/ผอม เป็น
                                เวลา180 วัน หรือจนกว่าเด็กอยู่ในระดับค่อนข้างเตี้ย/ค่อนข้างผอม ส่วนเด็กค่อนข้างเตี้ย/ค่อนข้าง
                                ผอม จัดหาไข่หรือนม ให้เป็นเวลา 60 วัน หรือจนกว่าเด็กอยู่ในระดับสูงตามเกณฑ์และสมส่วน
                                2.5 อสม. / เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อปท.(หรือจัดหาเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจากหน่วยอื่น) ติดตามและให้
                                    ค าแนะน าการจัดอาหารของหญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร และเด็ก ตามปริมาณที่แนะน า ทุกสัปดาห์

                                    หากหญิงตั้งครรภ์มีน้ าหนักน้อย อปท.สนับสนุนนมตามความเหมาะสมหรือจนกว่ามีน้ าหนักอยู่ใน
                                    ภาวะโภชนาการระดับปานกลาง (แถบสีเหลืองในกราฟโภชนาการหญิงตั้งครรภ์)
                                2.6 อสม. / เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อปท.(หรือจัดหาเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจากหน่วยอื่น)  ติดตามทุก
                                    สัปดาห์ ในเรื่องการกินยาเม็ดเสริมไอโอดีน ธาตุเหล็ก และกรดโฟลิก ในหญิงตั้งครรภ์และให้นม
                                    บุตร 6 เดือน การรับวัคซีนของเด็ก ยาน้ าเสริมธาตุเหล็กในเด็กอายุ 6 เดือน – 5 ปี ในกรณีที่ไม่ได้
                                    รับยาหรือยาหมด ประสานเจ้าหน้าที่สาธารณสุขของหน่วยบริการน ายาเม็ด/ยาน้ ามาให้ หรือ

                                    อปท.อาจด าเนินการสนับสนุนเอง
                                2.7 สนับสนุนการอบรมด้านโภชนาการแก่พ่อแม่/ผู้ดูแลเด็ก ครูพี่เลี้ยง อสม.ตามความเหมาะสม
                                2.8 ก าหนดมาตรการทางสังคม เช่น
                                         2.8.1  อสม. และคนในชุมชนไม่น าอาหารที่ไม่มีประโยชน์ให้เด็กกิน และแนะน าอาหารที่
                                                มีประโยชน์
                                         2.8.2  อสม. และคนในชุมชนสอดส่องดูแลการซื้อขนมและเครื่องดื่มของเด็ก
                                         2.8.3  ร้านค้าอาหารขายอาหารที่มีประโยชน์ ไม่หวานจัด ไม่เค็มจัด ไม่มีไขมันสูง
                                         2.8.4  ให้เด็กซื้อขนมได้ไม่เกินวันละ 1 อย่าง ห่อเล็ก วันละ 1 ครั้ง หรือก าหนดวันในการซื้อ
                                         2.8.5  ยกย่องเชิดชูเกียรติให้กับผู้ที่ท าตามกิจกรรม เช่น เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6

                                                เดือน ครอบครัวที่พาเด็กไปชั่งน้ าหนักวัดส่วนสูงทุกครั้ง เด็กที่กินอาหารตามวัย
                                                เหมาะสม เด็กที่สูงดีสมส่วน เป็นต้น
                          กิจกรรมที่ 2 การส่งเสริมและติดตามพัฒนาการเด็กปฐมวัย
                            1. ในศูนย์พัฒนำเด็กเล็ก/โรงเรียนอนุบำล
                                1.1 จัดหาอุปกรณ์เฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยเพื่อใช้ในการเฝ้าระวังและส่งเสริม
                                พัฒนาการ และการตรวจคัดกรองพัฒนาการ อุปกรณ์เครื่องเล่น หนังสือนิทานส าหรับเด็ก

                                1.2 พัฒนาศักยภาพครูพี่เลี้ยงเด็ก/ครูผู้ดูแลเด็ก/อาสาสมัคร เรื่องการส่งเสริมพัฒนาการเด็กและการใช้
                                    คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM)
                                1.3 ครูพี่เลี้ยงเด็ก/ครูผู้ดูแลเด็ก เฝ้าระวังพัฒนาการ โดยการติดตามสังเกต ทดสอบ พฤติกรรม
                                    พัฒนาการตามวัย ช่วงอายุตามระยะตรวจสุขภาพ และส่งเสริมพัฒนาการในแต่ละพฤติกรรม







                          ส ำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัดอุบลรำชธำนี

                                                          คู่มือกำรปฏิบัติงำนกองทุนหลักประกันสุขภำพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ 2563
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111