Page 23 - 2559
P. 23
2.3.3 โครงการพิกัดหลักฐานด้านภูมิสารสนเทศ (GPS) ระยะที่ 4
เพื่อให้การด าเนินงานจัดท าหมุดหลักฐานถาวรและเก็บเป็นฐานข้อมูลให้อยู่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
เกิดความต่อเนื่องครอบคลุมพื้นที่โครงข่ายทางหลวงและสะพานทั่วทั้งประเทศ จึงต้องมีการด าเนินงานสร้างหมุดหลักฐาน
ด้านภูมิศาสตร์ (GPS) ระยะที่ 4 โดยการจัดเก็บข้อมูลในระบบโครงข่ายทางหลวงและสะพานนั้นต้องอยู่ในระบบฐานข้อมูล
เดียวกันกับฐานข้อมูลเดิมที่มีอยู่ เพื่อประโยชน์ในการบูรณาการข้อมูลของกรมทางหลวงชนบท และการน าข้อมูลไป
เผยแพร่แก่หน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานเอกชนและประชาชนที่สนใจต่อไป
วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลสารสนเทศระบบโครงข่ายทางหลวงและสะพาน โดยการจัดสร้างหมุดหลักฐานถาวร (Bench Mark)
2. ด าเนินการเก็บค่าพิกัดทางราบ และค่าระดับความสูง (รทก.) โดยใช้เครื่อง GPS รังวัดแบบจลน์ในทันที (Real Time
Kinematic, RTK) โดยอ้างอิงหมุดหลักฐานถาวรของโครงการให้อยู่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์และให้สอดคล้องกับ
ฐานข้อมูลเดิม
3. จัดเก็บค่าพิกัดทางราบและระดับความสูง (Profile) บนสายทางของกรมทางหลวงชนบท เพื่อใช้อ้างอิงกับระดับน้ าสูงสุด
4. เพื่อสามารถน าฐานข้อมูลจากโครงการมาใช้งานได้ในระบบสารสนเทศของกรมทางหลวงชนบท และให้บริการกับหน่วยงาน
อื่นๆ ได้
ภาพที่ 2-11 แสดงพื้นที่โครงการ
เกณฑ์การคัดเลือกต าแหน่งที่ตั้งหมุดหลักฐาน
1. พื้นที่น้ าท่วมในโครงข่ายสายทางของกรมทางหลวงชนบท, สายทางที่ประสบปัญหาน้ าท่วมจากข้อมูลของ GISTDA
ปี 2551-2558
2. ระยะห่างระหว่างสะพานตัวแทนของกรมทางหลวงชนบท (5 – 15 กิโลเมตร) หรือโครงสร้างถาวร ของกรมชลประทาน
3. ปัจจัยที่น าไปใช้ในการคัดเลือกสะพานตัวแทน
- ตัวแทนของสายทางของกรมทางหลวงชนบท
- ตัวแทนของเขตการปกครอง ต าบล, อ าเภอ
- ตัวแทนของล าน้ าหลัก
- ตัวแทนของพื้นที่ความเสี่ยงสูงต่ออุทกภัยสูงมีระยะห่างที่เหมาะสม
15