Page 175 - โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม
P. 175
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมที่ชัดเจน และยังไม่มีการเก็บรวบรวมสถิติ ข้อมูลโรงงานอุตสาหกรรม และประเภทกิจการที่มีความ
สอดคล้องกับอุตสาหกรรม (First-S Curve) ของรัฐบาล ดังนั้นจึงมีความจ าเป็นต้องใช้ฐานข้อมูลจากอุตสาหกรรม
เดิมเพื่อประกอบในการศึกษาวิเคราะห์ โดยเสนอให้ปรับชื่อกลุ่มอุตสาหกรรมให้มีความครอบคลุมมากขึ้น โดยได้
ก าหนดอุตสาหกรรมน าร่องทั้ง 5 กลุ่มอุตสาหกรรม ดังนี้
1) อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
2) อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร
3) อุตสาหกรรมหุ่นยนต์เพื่ออุตสาหกรรม
4) อุตสาหกรรมยานยนต์และยานยนต์สมัยใหม่
5) อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร
เพื่อให้ที่ปรึกษาโครงการสามารถด าเนินการสร้างแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างต่อผู้เชี่ยวชาญราย
อุตสาหกรรมน าร่องที่ได้ก าหนดไว้ทั้ง 5 อุตสาหกรรม โดยจะท าการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญในหลายภาคส่วนของแต่
ละรายอุตสาหกรรม ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และนักวิชาการ อย่างน้อยอุตสาหกรรมละ 3 ท่าน ทั้งนี้เพื่อก าหนด
นิยาม โครงสร้าง และภาพรวมของแต่ละอุตสาหกรรม รวมทั้งการก าหนดค่าถ่วงน้ าหนักของปัจจัย และค่าน้ าหนัก
ของตัวแปรในการคัดเลือกที่ตั้งที่เหมาะสมส าหรับการพัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรมต่อไป
5.6 ข้อมูลที่ใช้ประกอบการพิจารณาเพื่อพัฒนาแบบจ าลอง
ในการพิจารณาปัจจัยเพื่อวิเคราะห์หาพื้นที่ที่มีศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรมน าร่องเพื่อพัฒนา
แบบจ าลอง นอกจากจะต้องพิจารณานโยบายยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับนโยบายภาคอุตสาหกรรม เขตเศรษฐกิจ
nd
พิเศษ อุตสาหกรรมเป้าหมาย First S-Curve, New S-Curve, 2 Wave S-Curve และฐานข้อมูลภูมิสารสนเทศ
ภายในและภายนอกส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม แล้ว ที่ปรึกษาได้พิจารณาถึงเอกสารประกอบอื่นๆ เพิ่มเติม
ด้วย ไม่ว่าจะเป็น บทความวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สิทธิบัตรด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม และนโยบาย
ด้านอุตสาหกรรม AEC ในอุตสาหกรรมเป้าหมาย มีรายละเอียดในแต่ละอุตสาหกรรม ดังนี้
5.6.1 บทความวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
โดยจะเป็นการรวบรวมบทความวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในแต่ละอุตสาหกรรมน าร่อง จาก
การสืบค้นข้อมูลในฐานงานข้อมูลการวิจัยและบทความต่างๆ เช่น Science Direct
1) อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
บทความวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และ
อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ จะประกอบไปด้วยงานวิจัยหลากหลายรูปแบบด้วยกัน อาทิเช่น
ส านักงานศูนย์วิจัยและให้ค าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หน้า 5 - 6