Page 230 - โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม
P. 230
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม
จากปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรมอย่างมีนัยส าคัญ ทางผู้วิจัย
ได้พิจารณาเลือกปัจจัยเหล่านั้นเป็นปัจจัยที่เหมาะสมในการน ามาศึกษาและวิเคราะห์ในกระบวนการอื่นๆ ต่อไป
2) การก าหนดช่วงคะแนนของปัจจัย
การก าหนดช่วงคะแนนของแต่ละปัจจัย ได้พิจารณาจากการวิเคราะห์หารูปแบบ
ความสัมพันธ์ของปัจจัยกับศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรมเชิงพื้นที่ ซึ่งจากศักยภาพในการแข่งขันของ
อุตสาหกรรมเชิงพื้นที่โดยไม่เฉพาะเจาะจงประเภทอุตสาหกรรมนั้น สามารถจ าแนกได้เป็น 3 รูปแบบหลักคือ
รูปแบบเส้นตรง รูปแบบเส้นโค้ง และรูปแบบเส้นโค้งพาราโบลา โดยรูปแบบความสัมพันธ์แต่ละประเภทมีรูปแบบ
ทั้งเชิงบวก (Positive) และเชิงลบ (Negative)
ดังนั้น จึงแบ่งรูปแบบความสัมพันธ์ออกเป็น 6 กลุ่ม ได้แก่
- กลุ่มที่ 1 รูปแบบความสัมพันธ์แบบเส้นตรงเชิงบวก
- กลุ่มที่ 2 รูปแบบความสัมพันธ์แบบเส้นตรงเชิงลบ
- กลุ่มที่ 3 รูปแบบความสัมพันธ์แบบเส้นโค้งเชิงบวก
- กลุ่มที่ 4 รูปแบบความสัมพันธ์แบบเส้นโค้งเชิงลบ
- กลุ่มที่ 5 รูปแบบความสัมพันธ์แบบเส้นโค้งพาราโบลาเชิงบวก
- กลุ่มที่ 6 รูปแบบความสัมพันธ์แบบเส้นโค้งพาราโบลาเชิงลบ
ซึ่งจากการวิเคราะห์ผล สามารถสรุปรายละเอียดรูปแบบความสัมพันธ์แต่ละกลุ่มได้ดังนี้
- กลุ่มที่ 1 ปัจจัยที่มีรูปแบบความสัมพันธ์แบบเส้นตรงเชิงบวก ได้แก่ คะแนนผลรวมด้าน
นโยบาย
- กลุ่มที่ 2 ปัจจัยที่มีรูปแบบความสัมพันธ์แบบเส้นตรงเชิงลบ ได้แก่ พื้นที่นอกผังสี (ตร.ม)
- กลุ่มที่ 3 ปัจจัยที่มีรูปแบบความสัมพันธ์แบบเส้นโค้งเชิงบวก ได้แก่ พื้นที่ในผังสี: ยกเว้น
สีม่วง (ตร.ม) พื้นที่ในผังสี: ผังสีม่วง (ตร.ม) มูลค่าการลงทุนโรงงานในพื้นที่ ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP)
จ านวนแรงงาน ความหนาแน่นของแรงงานต่อพื้นที่ ระยะทางไปสถานีต ารวจที่ใกล้ที่สุด จ านวนสถานศึกษา:
ระดับอาชีวศึกษา จ านวนสถานศึกษา: ระดับอุดมศึกษา คะแนนรวมปัจจัยภัยแล้ง การจ าหน่ายกระแสไฟฟ้า (รวม)
และการจ าหน่ายกระแสไฟฟ้า (เพื่อธุรกิจและอุตสาหกรรม)
- กลุ่มที่ 4 ปัจจัยที่มีรูปแบบความสัมพันธ์แบบเส้นโค้งเชิงลบ ได้แก่ ระยะห่างจากนิคม
อุตสาหกรรมที่ใกล้ที่สุด ระยะทางท่าเรือที่ใกล้ที่สุด ระยะทางไปสถานีรถไฟที่ใกล้ที่สุด ระยะทางไปสถานีดับเพลิงที่
ใกล้ที่สุด และคะแนนรวมปัจจัยน้ าท่วม
ส านักงานศูนย์วิจัยและให้ค าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หน้า 7 - 12