Page 237 - โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม
P. 237

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม


                                                 ปัจจัย                              ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์

                       ระยะทางไปสถานีรถไฟที่ใกล้ที่สุด                                      -.170**
                       จ านวนแรงงาน                                                          .337**

                       ความหนาแน่นของแรงงานต่อพื้นที่                                        .123**

                       ระยะทางไปสถานีดับเพลิงที่ใกล้ที่สุด                                  -.204**
                       จ านวนสถานศึกษา: ระดับอาชีวศึกษา                                      .141**

                       จ านวนสถานศึกษา: ระดับอุดมศึกษา                                       .196**

                       สถานีต้นทางการไฟฟ้านครหลวง หรือสถานีไฟฟ้าแรงสูง กฟภ.                  .335**
                       สถานีไฟฟ้าย่อยการไฟฟ้านครหลวง หรือสถานีไฟฟ้าย่อย กฟภ.                 .109**

                       การจ าหน่ายกระแสไฟฟ้า (รวม)                                           .352**

                       การจ าหน่ายกระแสไฟฟ้า (เพื่อธุรกิจและอุตสาหกรรม)                      .128**
                       ปริมาณน้ าจ าหน่าย (ลบ.ม./เดือน)                                      .288**

                       ปริมาณน้ าผลิตคงเหลือ (ลบ.ม./เดือน)                                   .246**

                                                                                                 **
                       คะแนนรวมปัจจัยน้ าท่วม                                                -.158
                       คะแนนรวมปัจจัยภัยแล้ง                                                 .135
                                                                                                 **
                        หมายเหตุ ** ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ที่ระดับนัยส าคัญ 0.01 (2-tailed)

                        * ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ที่ระดับนัยส าคัญ 0.05 (2-tailed)

                                2) การก าหนดช่วงคะแนนของปัจจัย

                                      การก าหนดช่วงคะแนนของแต่ละปัจจัย ได้พิจารณาจากการวิเคราะห์หารูปแบบ

                  ความสัมพันธ์ของปัจจัยกับศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ ซึ่ง
                  จากศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะนั้น สามารถจ าแนกได้เป็น 3

                  รูปแบบหลักคือรูปแบบเส้นตรง รูปแบบเส้นโค้ง และรูปแบบเส้นโค้งพาราโบลา โดยรูปแบบความสัมพันธ์แต่ละ

                  ประเภทมีรูปแบบทั้งเชิงบวก (Positive) และเชิงลบ (Negative)
                                      ซึ่งจากการวิเคราะห์ผล สามารถสรุปรายละเอียดรูปแบบความสัมพันธ์ออกเป็น 6 กลุ่มได้

                  ดังต่อไปนี้

                                    -  กลุ่มที่ 1 ปัจจัยที่มีรูปแบบความสัมพันธ์แบบเส้นตรงเชิงบวก ได้แก่ คะแนนผลรวมด้าน
                  นโยบาย

                                    -  กลุ่มที่ 2 ปัจจัยที่มีรูปแบบความสัมพันธ์แบบเส้นตรงเชิงลบ ได้แก่ พื้นที่นอกผังสี (ตร.ม)

                                    -  กลุ่มที่ 3 ปัจจัยที่มีรูปแบบความสัมพันธ์แบบเส้นโค้งเชิงบวก ได้แก่ พื้นที่ในผังสี: ยกเว้น

                  สีม่วง (ตร.ม) พื้นที่ในผังสี: ผังสีม่วง (ตร.ม)  มูลค่าการลงทุนโรงงานในกลุ่มอิเล็กฯ  ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด


                  ส านักงานศูนย์วิจัยและให้ค าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์                             หน้า 7 - 19
   232   233   234   235   236   237   238   239   240   241   242