Page 311 - โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม
P. 311

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม


                            ปัจจัย      ร้อยละของปัจจัย              ตัวแปร                ร้อยละของตัวแปร
                        สิ่งแวดล้อม         11.11       คะแนนรวมปัจจัยน้ าท่วม                 100.00

                                                        คะแนนรวมปัจจัยภัยแล้ง                   0.00


                         จากตารางที่ 8.2-4 การแสดงค่าน้ าหนักของปัจจัยและตัวแปรในอุตสาหกรรมยานยนต์และยานยนต์
                  สมัยใหม่จากการให้ค่าน้ าหนักของผู้เชี่ยวชาญและการวิเคราะห์มีลักษณะที่คล้ายคลึงและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน

                  โดยปัจจัยด้านนโยบายเป็นปัจจัยที่ผู้เชี่ยวชาญให้ความส าคัญ และให้ค่าน้ าหนักมากที่สุด เนื่องจากปัจจัยด้าน
                  นโยบายเป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับข้อก าหนดกฎหมาย เช่น ข้อก าหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน (ผังเมือง) อีกทั้งนโยบาย

                  ของภาครัฐบาลที่มีการสนับสนุนอุตสาหกรรมยานยนต์ภายในประเทศ โดยการลดหย่อยภาษี หรือข้อตกลงต่างๆ ที่

                  เอื้อต่อการประกอบกิจการดังกล่าว เพื่อเป็นการชักจูงนักลงทุนทั้งไทยและต่างชาติให้มาลงทุนภายในประเทศมาก
                  ยิ่งขึ้น โดยจะพบเห็นโรงงานผลิตรถยนต์ ผลิตอะไหล่รถยนต์หรือโรงงานประกอบรถยนต์ในประเทศไทยจ านวนมาก

                  มีการกระจุกตัวอยู่ในพื้นที่ที่ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐทั้งสิ้น นอกจากนั้นการกระจุกตัวของโรงงาน
                  อุตสาหกรรม ช่วยท าให้เกิดห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) ที่ส าคัญทั้งการผลิตอะไหล่รถยนต์ การประกอบ

                  รถยนต์ ท าให้โรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ ได้รับประโยชน์จากการกระจุกตัวของอุตสาหกรรมประเภทเดียวกัน อีกทั้ง

                  ปัจจัยด้านการขนส่ง ถ้าหากมีโครงข่ายการคมนาคมที่ดีจะช่วยท าให้อุตสาหกรรมยานยนต์และยานยนต์สมัยใหม่ใน
                  ประเทศไทย เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว อีกทั้งยังสามารถส่งออกไปยังประเทศเพื่อนบ้านได้เป็นอย่างดี


                                5) อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร

                                        ผลจากการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ (ครั้งที่ 2) พบว่าปัจจัยที่ใช้ในการวิเคราะห์หาพื้นที่ที่มี

                  ศักยภาพในการพัฒนาอุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจรมีทั้งสิ้น 7 ปัจจัย ได้แก่ ด้านการขนส่ง ด้านการกระจุกตัว


                  ของอุตสาหกรรม ด้านแรงงาน ด้านเศรษฐกิจ ด้านนโยบาย ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านโรงพยาบาลและมหาวิทยาลัย
                  ซึ่งถือเป็นปัจจัยที่เพิ่มเติมและแตกต่างจากอุตสาหกรรมอื่นๆ อีกทั้งการให้ค่าน้ าหนักของผู้เชี่ยวชาญในแต่ละด้านมี


                  ค่าน้ าหนักและนัยส าคัญที่มีความแตกต่างกัน ดังภาพที่ 8.2-5

























                  ส านักงานศูนย์วิจัยและให้ค าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์                             หน้า 8 - 41
   306   307   308   309   310   311   312   313   314   315   316