Page 107 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 107

15 ํ 38’ N                                                                 15 ํ 38’ N
                                                  99 ํ 43’ E                                                                99 ํ 43’ E
                                                พ.ศ. 2497                                                                 พ.ศ. 2534












































 15 ํ 37’ N                                                   15 ํ 37’ N
 99 ํ 42’ E                                                   99 ํ 42’ E


                                                 15 ํ 38’ N
                                                  99 ํ 43’ E
                                                พ.ศ. 2545




                                                                ก�ำแพงเมือง-คูเมือง

                                                                      ก�ำแพงเมือง-คูเมืองเป็นรูปแบบภูมิลักษณ์วัฒนธรรมเห็นได้ในรูปถ่ำยทำงอำกำศและภำพจำก
                                                                ดำวเทียมในช่วงเวลำต่ำงๆ มีลักษณะเป็นคู-คันดินหรือก�ำแพงสร้ำงขึ้นล้อมรอบบริเวณที่อยู่อำศัย
                                                                ท�ำกิจกรรมร่วมกัน ใช้ประโยชน์ในกำรก�ำหนดขอบเขต กำรป้องกัน กำรกักเก็บน�้ำเพื่อกำรอุปโภคบริโภค
                                                                กำรคมนำคม หรือกำรชลประทำนอย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง หรือหลำยอย่ำงร่วมกัน
                                                                      ร่องรอยก�ำแพงเมือง-คูเมือง เห็นได้บนพื้นดิน มีลักษณะเป็นคู คันดิน ร่อง หรือแอ่งลึก

                                                                แตกต่ำงกันในแต่ละพื้นที่ตำมลักษณะภูมิศำสตร์และสภำพแวดล้อมกำรตั้งถิ่นฐำนของท้องถิ่นนั้น
                                                                      ส่วนที่เป็นคู  บำงแห่งมีตะกอนดินทับถมจนตื้นเขินใช้ท�ำนำ  บำงแห่งมีน�้ำท่วมขัง  บำงแห่ง
                                                                ขุดลอกใช้ประโยชน์กักเก็บน�้ำของชุมชน
                                                                      ส่วนที่เป็นคันดิน  บำงแห่งถูกชะล้ำงต�่ำลงตำมธรรมชำติ  หรือยังคงสภำพเป็นคันดินสูง
                                                                บำงแห่งมีอิฐซ้อนทับคงสภำพให้เห็นเป็นก�ำแพง หรืออำจพบหลักฐำนปักไม้ล้อมรอบเป็นระเนียด
                                                                ใช้ประโยชน์เพื่อกำรป้องกัน









 15 ํ 37’ N
 99 ํ 42’ E




                                                                                                                               l  93  93
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112