Page 109 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 109
14 ํ 34’ N
14 ํ 34’ N
102 ํ 59’ E
102 ํ 59’ E
“สระ” “พัง” “ตระพัง” และ “บำรำย”
อ่างเก็บนํ้าหนองบัวลาย 14 ํ 32’ N
102 ํ 58’ E
“สระ” “พัง” หรือ “ตระพัง” และ “บำรำย” เป็นรูปแบบ
ภูมิลักษณ์วัฒนธรรมเห็นในรูปถ่ำยทำงอำกำศและภำพจำก
ดำวเทียมเป็นแนวคันดินเป็นเส้นตรงล้อมรอบบริเวณบรรจบ
กันเป็นรูปสี่เหลี่ยมแบบจัตุรัสหรือแบบผืนผ้ำ สร้ำงขึ้นใช้
ประโยชน์เพื่อกักเก็บและยกระดับน�้ำ “สระ” “พัง” หรือ “ตระพัง”
และ “บำรำย” ใช้เรียกแตกต่ำงกันอย่ำงไร ยังไม่มีควำม
ชัดเจน
“สระ พัง หรือตระพัง” เป็นกำรขุดลึกลงไปในพื้นดิน
เพื่อกักเก็บน�้ำใช้ส�ำหรับชุมชนโดยรับน�้ำจำกพื้นดิน หรือ
ที่ซึมมำจำกใต้ดิน มีคันดินหรือก่ออิฐเป็นพนังล้อมรอบ
N
หรือมีขนำดใหญ่เรียกว่ำ “บำรำย” ก็มี
“บำรำย” อำจเรียกเพี้ยนเป็น “บัวลำย” เป็นกำรขุด
14 ํ 31’ N 300 m. คันดินล้อมรอบบริเวณ เพื่อกักเก็บและยกระดับน�้ำในระบบ
102 ํ 57’ E © GISTDA_2013 กำรชลประทำนแบบบำรำย โดยรับน�้ำจำกคลองด้ำนหนึ่ง แล้ว
ยกระดับน�้ำให้ไหลออกไปตำมแนวคลองอีกด้ำนหนึ่ง แตกต่ำง
ไปจำกตระพัง โดยไม่จ�ำเป็นต้องขุดลึกลงไปเพื่อรับน�้ำจำกใต้ดิน
ตระพังปราสาทเมืองตํ่า 14 ํ 30’ N
102 ํ 59’ E ตระพังบำงแห่งใช้ยกระดับน�้ำให้ไหลออกไปตำมแนวคลอง
เพื่อกำรชลประทำนในลักษณะเดียวกันกับบำรำยได้เช่นกัน
ตัวอย่ำงเช่น กำรตั้งถิ่นฐำนบริเวณพนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์
บำรำยที่บ้ำนหนองบัวลำย สร้ำงบนที่รำบเชิงเขำด้ำน
ตะวันออกของภูเขำไฟพนมรุ้ง รับน�้ำจำกคลองที่ขุดตำมแนว
เชิงเขำยกระดับน�้ำสูงขึ้นและส่งต่อไปตำมแนวคลองถึงชุมชน
ตั้งอยู่ทำงทิศตะวันออกบนระดับพื้นดินที่ต�่ำกว่ำ สันนิษฐำน
ได้ว่ำสร้ำงขึ้นในสมัยเดียวกันกับตระพังที่บ้ำนปรำสำทเมืองต�่ำ
ตระพังที่บ้ำนปรำสำทเมืองต�่ำ สร้ำงขึ้นควบคู่กับ
เทวสถำนหินทรำยที่แกะสลักสวยงำม ขุดลึกใช้กักเก็บน�้ำส�ำหรับ
ชุมชน มีศิลำแลงก่อปิดเป็นผนัง และก่อขอบดินสูงเป็นพนัง
รับน�้ำจำกคลองที่ระบำยจำกเนินทำงด้ำนใต้และระบำยน�้ำออก
ทำงด้ำนเหนือ มีขนำดกว้ำง-ยำวประมำณ ๑,๐๑๐ x ๔๐๐ เมตร
มีแนวยำวตำมแนวอำซิมุท ๗๙ องศำ เบนจำกแนว
ตะวันออก - ตก ๑๑ องศำ “ปรำสำทเมืองต�่ำ” มีผังด้ำน
แกนยำวเป็นแนวตั้งฉำกกับแกนยำวของตระพัง ไม่ได้หันหน้ำ
N
ตรงไปตำมแนวทิศตะวันออกตำมควำมเชื่อทั่วไปที่มีต่อ
กำรสร้ำงศำสนสถำน แต่หันหน้ำเข้ำหำเป็นแนวตั้งฉำกกับ
300 m.
14 ํ 29’ N ตระพังที่สร้ำงขึ้นใช้ประโยชน์ดังกล่ำว
102 ํ 58’ E © GISTDA_2013 กำรก�ำหนดอำยุวิเครำะห์จำกตัวอักษรในจำรึกพบ
ที่ปรำสำทเมืองต�่ำ เทียบได้กับจำรึกซึ่งพบที่ปรำสำทหินพนมวัน
ปราสาทพนมรุ้งบนปากปล่องภูเขาไฟ 14 ํ 32’ N ต�ำบลบ้ำนโพธิ์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครรำชสีมำ และจำรึก
102 ํ 56’ E
สด๊กก๊อกธม ที่พบในปรำสำทเมืองพร้ำว ต�ำบลโคกสูง อ�ำเภอ
โคกสูง จังหวัดสระแก้ว เชื่อว่ำปรำสำทเมืองต�่ำสร้ำงในสมัย
เดียวกันกับจำรึกทั้งหมด อยู่ในช่วงสมัยปลำยศตวรรษที่ ๑๖
ตระพังปราสาทเมืองตํ่า (พ.ศ. ๑๕๙๘)
14 ํ 31’ N
102 ํ 56’ E © GISTDA_2013
N
500 m. l 95 95