Page 113 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 113

นํ้าอ้อม                                               15 ํ 39’ N  ถนนตำรำงหมำกรุก หรือถนนตำรำงกริด
                 อ�ำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด                      103 ํ 32’ E
                                                                                        “ถนน” หมำยถึงเส้นทำงคมนำคมทำงบกสร้ำงขึ้นเพื่อควำมสะดวก
                                                                                  ในกำรสัญจรภำยในเมือง  และระหว่ำงเมือง  อำจเป็นแนวเส้นทำงไปตำม
                                                                                  สภำพธรรมชำติ หรือพูนดินสร้ำงขึ้นเป็นแนวยำว เพื่อใช้ประโยชน์ในกำร
                                                                                  สัญจร  (ซึ่งแตกต่ำงไปจำกพนังที่เป็นแนวคันดินยำวในกำรขุดคลอง
                                                                                  ชลประทำน)  ทั้งถนนและพนังในกำรขุดคลองเป็นภูมิลักษณ์คนท�ำขึ้น
                                                                                  ที่เห็นได้ชัดเจนในรูปถ่ำยทำงอำกำศ  และภำพจำกดำวเทียมในลักษณะ
                                                                                  ที่คล้ำยกัน แต่จะแตกต่ำงกันโดยเจตนำรมณ์ของผู้ใช้ประโยชน์ กำรพิจำรณำ

                                                                                  ไม่ถ่องแท้อำจท�ำให้เข้ำใจผิดในภูมิปัญญำของคนในอดีตและส่งผลต่อ
                                                                                  กำรอนุรักษ์ ในประเทศไทยไม่ปรำกฏหลักฐำนกำรพูนดินขึ้นใช้ประโยชน์เป็น
                                                                                  ถนนเชื่อมระหว่ำงเมืองมำก่อนกำรน�ำยำนพำหนะอย่ำงเช่นรถยนต์มำใช้ใน
                                                                                  ประเทศ หำกแต่ได้พบคันดินยำวที่สร้ำงขึ้นใช้ประโยชน์เป็นพนังในกำรขุด
                                                                                  คลองชลประทำนหลำยแห่งทั่วประเทศ  และได้มีกำรเข้ำใจผิดไปว่ำพูนดิน
                                                                                  ขึ้นใช้เป็นถนน เช่น เรียกกันว่ำ “ถนนท้ำวอู่ทอง” “ถนนพระร่วง” เป็นต้น
                                                                                        “ถนนตำรำงหมำกรุก” เป็นภูมิปัญญำกำรสร้ำงทำงสัญจรภำยในเมือง
                                                                                  โดยถนนแต่ละเส้นขนำนและมีระยะห่ำงเท่ำกัน  ๒  ชุด  ตัดกันเป็น
                                                                                  รูปตำรำง เรียกว่ำ ถนนตำรำงหมำกรุก หรือถนนตำรำงกริด ได้พบหลักฐำน

                                                                          N       ที่มีลักษณะเด่นเฉพำะดังกล่ำวในบริเวณภำคตะวันออกเฉียงเหนือ
                                                                                  นับร้อยแห่ง แต่ยังไม่ได้มีกำรศึกษำที่มำ และยุคสมัยกำรสร้ำงขึ้นใช้ประโยชน์
                 15 ํ 37’ N
                 103 ํ 30’ E                             © GISTDA_2013  300 m.    โดยปรำกฏให้เห็นในรูปถ่ำยทำงอำกำศบันทึกไว้กว่ำ ๕๐  ปี  และจำก
                                                                                  กำรสอบถำมคนในท้องถิ่น  เปรียบเทียบกับประวัติหมู่บ้ำน  เชื่อว่ำเป็น
                                                                                  ภูมิปัญญำที่มีมำนำนไม่น้อยกว่ำ ๒๐๐ ปีแล้ว
                 เมืองบัว                                              15 ํ 37’ N
                 อ�ำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด                      103 ํ 37’ E
















                                                                          N


                 15 ํ 35’ N
                 103 ํ 34’ E                             © GISTDA _2009  400 m.



                 เมืองเขวาตะคลอง                                        15 ํ 28’ N
                 อ�ำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด                       103 ํ 26’ E

















                                                                          N

                 15 ํ 27’ N
                 103 ํ 25’ E                             © GISTDA _2010  250 m.



                                                                                                                               l  99  99
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118