Page 155 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 155
0
20 36’ N
101 29’ E
0
แม่น�้ำโขง
ดินแดนภูเขา หุบเขา
แม่น�้ำกก
และเส้นทางออกสู่ทะเล
เชียงรำย แม่น�้ำโขง
ภาพจ�าลองระดับความสูงภูมิประเทศภาคเหนือประเทศไทย เป็นพื้นที่ภูเขา
และที่ราบในหุบเขาต่อเนื่องเข้าไปในประเทศลาว-เมียนมา จนถึงมณฑลคุนหมิง
ประเทศจีน เริ่มต้นเกิดจากการทรุดตัวของแผ่นดินเป็นแอ่งมีน�้าท่วมขังเป็นบึงหรือ
แม่น�้ำอิง ทะเลสาบขนาดใหญ่ ภายหลังน�้ากัดเซาะเปิดออกเป็นช่องเขาน�้าแห้งเปลี่ยนเป็นที่ราบ
ในหุบเขาแยกตัวออกจากกันเป็นแห่งๆ มีแม่น�้าไหลผ่านเชื่อมต่อที่ราบถึงกัน
ในแต่ละลุ่มน�้า แล้วระบายต่อไปยังลุ่มน�้าหลักและไหลออกสู่ทะเล พื้นที่ราบเหล่านี้
มีความอุดมสมบูรณ์มีการตั้งถิ่นฐานอยู่ทั่วไป พื้นที่ราบส่วนใหญ่ของภาคเหนือ
พะเยำ
อยู่ในบริเวณลุ่มน�้าปิง วัง ยม น่าน ซึ่งรวมตัวกันเป็นแม่น�้าเจ้าพระยาไหลผ่านอ่าวไทย
ด้านทิศเหนือมีลุ่มน�้ากก ลุ่มน�้าอิง ระบายน�้าออกสู่แม่น�้าโขงเป็นแม่น�้าสายส�าคัญ
แม่น�้ำยม ออกสู่ทะเลที่ประเทศเวียดนาม ส่วนด้านตะวันตกมีแม่น�้าปาย แม่น�้ายวม และ
เชียงใหม่ น่ำน แม่น�้าเมย ระบายลงสู่แม่น�้าสาละวินไหลผ่านประเทศเมียนมาออกสู่ทะเลอันดามัน
หลักฐานโบราณคดีบ่งชี้ว่าเคยมีผู้คนอยู่อาศัยมานานนับหมื่นปี เห็นได้จาก
ล�ำพูน เครื่องมือหินที่พบกระจายทั่วไปบนที่ราบลานตะพักแม่น�้า ตามถ�้าและเพิงผาเชิงเขา
การตั้งถิ่นฐานเจริญขึ้นเป็นบ้านเป็นเมือง มีกล่าวไว้ในเอกสารต�านานจ�านวนมาก
หลักฐานของการเป็นชุมชนมีก�าแพงเมือง-คูเมืองล้อมรอบ เห็นได้ด้วยภาพจาก
แม่น�้ำน่ำน ดาวเทียมมีมากกว่า ๒๐๐ แห่ง ใช้พื้นที่ราบน�้าท่วมถึงเป็นแหล่งท�านาเหมืองนาฝาย
ล�ำปำง
แพร่ สร้างที่อยู่อาศัยบนเนินหรือบนที่ราบลานตะพักซึ่งปลอดภัยจากน�้าท่วม มีก�าแพงเมือง-
แม่น�้ำโขง คูเมืองล้อมรอบ เป็นลักษณะ “เมืองป้อมภูเขา” และ “เมืองในที่ราบ” แตกต่างกัน
โดยที่เมืองป้อมภูเขา มีขุดคูลึกแคบต่างระดับไปตามแนวขอบล้อมรอบพื้นที่
ยอดเนิน ใช้ประโยชน์ในการป้องกัน ส่วนเมืองในที่ราบ มีคูขุดลึกถึงระดับกักเก็บน�้า
ล้อมรอบบริเวณที่ราบ และมีคันดินยกสูงด้านเดียวบ้างสองด้านบ้าง ช่วยในการกักเก็บ
อุตรดิตถ์
และยกระดับน�้าใช้ประโยชน์ทั้งในการป้องกันและการชลประทานปรากฏร่องรอยเห็นได้
M
ในภาพจากดาวเทียม
N ountains, Valleys and
paths to the sea
สุโขทัย
40 km. The northern region of Thailand is composed of mountains
and valley flats which also extend to Laos, Myanmar and the city of
Kunming in China. These plains, resulting from the subsidence of land,
used to be flooded and created large ponds or lakes. As a result of water
แม่น�้ำสำละวิน they were joined by rivers flowing through the plains before draining into
erosion, the valley flats or plains separated from each other. Nonetheless,
the main basin and flowing out to the sea. The plains, comprising the river
basins of Ping, Wang, Yom, Nan, Kok, Ing, Pai, Yuam and the Moei Rivers
are fertile with scattered settlements.
The archaeological evidence revealed that there have been people
living in this area for over ten thousand years. This can be seen from the
เชียงใหม่ น่ำน แม่น�้ำโขง stone tools found scattered on the river terraces, caves and foothill shelters.
ล�ำพูน Traces of a community include city walls and moats surrounding dwellings
on the hills, or on unflooded stream terraces.
แม่น�้ำปิง แม่น�้ำวัง ล�ำปำง แม่น�้ำน่ำน There is evidence of 2 types of cities: one was built on the hills named
แพร่
“city with mountains fort” and the other in the plains called “city on
the plain”. The former was used for protection and it had deep, narrow moats
with different levels along the edges around the hilltop areas. The latter
อุตรดิตถ์ consisted of deep moats for retaining water enclosing the plains. One side of
แม่น�้ำยม
แม่น�้ำสำละวิน ตำก the earthen dykes of some moats were raised higher from their normal level
while some had two sides of their earthen dykes lifted in order to
retain water and elevate the water level. These moats, (satellite images reveal
สุโขทัย
พิษณุโลก
traces of over 200) were used for both protection and irrigation.
แม่น�้ำปิง
ก�ำแพงเพชร
พิจิตร
l 141 141
นครสวรรค์