Page 157 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 157
“เชียงใหม่” ศูนย์กลางแห่งล้านนา เงินเจียง...มรดกแห่งล้านนา
๐
19 05’ N
99 22’ E
๐
เชียงใหม่
สอง
N
ความเจริญรุ่งเรืองทันสมัยในทางเศรษฐกิจและการปกครองของ
๐
18 18’ N 5 km.
96 38’ E © GISTDA_2011 ล้านนาเห็นได้จาก “เงินเจียง” เงินตราที่ใช้ในการค้าขายแลกเปลี่ยนสินค้า
๐
มีลักษณะเป็นแท่งเงินหล่อผ่าซีกเป็นขาสองข้างดัดโค้ง และแบะออกเป็น
พญาเม็งรายทรงสถาปนา “เมืองเชียงใหม่” เมื่อ พ.ศ. ๑๘๓๙ ในดินแดน ช่องตรงกลาง มีตราชื่อเมืองประทับ และมีเลข ๕ ตีตราบอกมูลค่า (เท่ากับห้าบาท)
ที่มีความอุดมสมบูรณ์ เป็นที่ราบกว้างใหญ่มีภูเขาล้อมรอบ แม่น�้าปิงไหลผ่าน เป็นเงินเก่าของท้องถิ่นหาได้ยากมากในปัจจุบัน
ที่ราบจากเหนือจรดใต้ เป็นเมืองมีก�าแพงเมือง-คูเมืองล้อมรอบตั้งอยู่ใน การศึกษาของนิรันดร์ วิศิษฤ์สิน ในรายงานเรื่อง “เงินเจียงมรดก
ท�าเลที่มีแม่น�้าเป็นแนวกั้นทางทิศตะวันออก และมีดอยสุเทพเป็นปราการ แห่งล้านนา พ.ศ. ๒๕๔๙” ได้รวบรวมเงินเจียงมีชื่อเมืองประทับไว้
ธรรมชาติปิดกั้นทางด้านทิศตะวันตก และอยู่ในต�าแหน่งที่ศัตรูภายนอก ด้วยอักษรล้านนาจ�านวน ๖๘ เมือง และได้ศึกษาเปรียบเทียบกับ
ยากที่จะเข้าถึง อีกทั้งเป็นดินแดนใกล้ชิดติดต่อถึงกันได้ง่ายกับเมืองสอง ชื่อเมืองที่ปรากฏในเอกสารต�านานและพงศาวดารเกี่ยวกับล้านนา และ
สหายวีรกษัตริย์ที่มีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เมืองเชียงใหม่มีต�าแหน่ง แผนที่มณฑลท�าขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๕ รวมทั้งทะเบียนแหล่งที่ตั้ง
ที่ตั้งบนแม่น�้าปิงสะดวกในการคมนาคมผ่านที่ราบช่องเขาและแม่น�้าไปได้ ชุมชนโบราณในประเทศไทยจากหลักฐานรูปถ่ายทางอากาศ สรุปได้ว่า
ทั่วทุกสารทิศ ทางทิศใต้ผ่านแม่น�้าปิงจนถึงอ่าวไทย และตามแม่น�้าปิงขึ้นไป เมืองเกือบทั้งหมดที่มีชื่อประทับบนเงินเจียงมีต�าแหน่งตั้งอยู่ในภาคเหนือ
ทางเหนือ ผ่านเมืองเชียงดาวข้ามสันปันน�้าไปตามแม่น�้าฝางลงสู่แม่น�้ากก ประเทศไทย ๕๑ แห่ง ในประเทศเมียนมา ๑๓ แห่ง ลาวและจีน ประเทศละ
ซึ่งเป็นเส้นทางไปสู่ดินแดนล้านนาตอนเหนือและดินแดนล้านนาทางตะวันออก ๒ แห่ง เกือบทั้งหมดตั้งอยู่บนฝั่งตะวันตกของแม่น�้าโขงยกเว้นเมืองมุน
ที่มีเมืองเชียงรายเป็นศูนย์กลาง ทางทิศตะวันตกผ่านล�าพูน แม่สะเรียง ออกสู่แม่น�้า ในเขตประเทศลาว นับได้ว่าเป็นหลักฐานส�าคัญช่วยให้เข้าใจในการก�าหนด
สาละวินไปยังทะเลอันดามัน นับเป็นพระอัจฉริยภาพของพญาเม็งรายที่ทรงสร้างเมือง ขอบเขตอาณาจักรล้านนาได้ใกล้เคียงมากที่สุดเท่าที่มีการศึกษามาก่อนในอดีต
เชียงใหม่และพัฒนาให้เป็นศูนย์กลางแห่งล้านนา และเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับดินแดนล้านนา
ที่เคยยึดมั่นอยู่กับเอกสารประวัติศาสตร์ซึ่งกล่าวถึงไว้เพียง ๕๗ เมือง
“ล้านนา” นามตามเอกสารที่ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร
ให้ข้อสันนิษฐานว่า เป็นชื่อเรียกอาณาจักรไทยยวนมาแล้วอย่างน้อยตั้งแต่
สมัยพระเจ้ากือนา (พ.ศ. ๑๘๙๘ - ๑๙๒๘) “ C
hiang Mai” the metropolis
of Lanna
Chiang Mai covers an area from the west of Doi Suthep’s foothill across the Ping River to the east. The city has double-ring roads
constructed through the bypass, with a length of 9.5 km from the west side of the foothills to the eastern outer ring road.
The Mae Ping River flows through the city from north to south. Square city walls and moats built during the reign of King Mengrai are clearly visible
on satellite images. These walls and moats show Thai uniqueness of founding their communities, which has still kept the historic Lanna.
l 143 143