Page 161 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 161
18 � 34’ N
99 � 01’ E
ล�ำปำง 18 � 18’ N
อ�าเภอเมืองฯ จังหวัดล�าปาง 99 � 31’ E
N
600 m.
18 � 16’ N
99 � 28’ E © GISTDA_2009
พระนางจามเทวีได้หยุดประทับแรมเป็นที่สุดท้าย ณ ท่าเชียงทองก่อนเข้าเมือง พระนางจามเทวีเสด็จมาครองเมืองหริภุญชัย นับเป็นการขยาย
พร้อมทั้งโปรดฯ ให้ก่อพระอารามหล่อพระพุทธรูปบรรจุพระบรมธาตุประดิษฐานไว้ ความเจริญรุ่งเรืองจากเมืองละโว้มาสู่พื้นที่ภาคเหนือ ในบริเวณอิทธิพลของ
พระนางจามเทวีเสด็จขึ้นเสวยสิริราชสมบัติตรงกับวันขึ้น ๒ ค�่า เดือน ๗ ปีมะเมีย ชนเผ่าลัวะ ซึ่งตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนอยู่ก่อนแล้ว และภายหลังได้ขยายพระราชอ�านาจ
พุทธศักราช ๑๒๐๒ เมื่อพระชนมายุได้ ๒๖ พรรษา ขับไล่ลัวะออกจากพื้นที่ล�าปาง ทรงให้พระราชบุตรองค์พี่อยู่ครองเมืองล�าพูน
และเสด็จไปสร้างเมืองใหม่ให้พระราชบุตรองค์น้องครอบครอง พระราชทานนามเมือง
ใหม่ว่า “เขลางค์นคร”
เมืองฮอด 18 � 10’ N
อ�าเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ 98 � 37’ E
H ari Phunchai (Lamphun)
…Khelang Nakhon (Lampang)
through the legendary Queen Jama Dhevi
“Hari Phunchai” was a center of prosperity during the early 13
th
century B.E. It consisted of a cluster of towns scattered in the areas of
the “Chiang Mai-Lamphun basin” and the “Lampang basin”.
The administrative center was situated at
“Wiang Hari Phunchai” or Muang Lamphun and its contemporary
city was “Wiang Khelang Nakhon” or Muang Lampang.
The leader was Queen Jama Dhevi,
a royal daughter from Muang Lawo, which was the center of
progress in the Chao Phraya River basin.
Since Queen Jama Dhevi occupied Hari Phunchai, she brought
N property from Muang Lawo to the northern region where a group of
tribal people called Lua used to live.
18 � 09’ N She subsequently drove them out of the area
98 � 36’ E 100 km. and renamed the city “Khelang Nakhon”.
l 147 147