Page 165 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 165
19 57’ N เมืองฝาง
๐
99 13’ E
๐
เมืองฝำง “เมืองฝาง” มีก�าแพงเมือง-คูเมืองสร้างล้อมรอบบริเวณที่เป็นเนิน แยกออก
อ�าเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ จากกัน ๓ บริเวณ เป็นลักษณะกลุ่มเมืองเรียกตามชื่อท้องถิ่น ได้แก่ เวียงฝาง
เวียงสุทโธ
เวียงป่าป้าง และเวียงสุทโธ ก�าแพงเมือง-คูเมืองทั้ง ๓ แห่ง ขุดลึกต่างระดับ แสดงถึง
การใช้ประโยชน์ในการป้องกัน และระบายน�้าโดยรอบตัวเมือง เป็นลักษณะรูปแบบ
เมืองป้อมภูเขาที่พัฒนาการมาเป็นแบบขุดล้อมรอบบริเวณที่อยู่อาศัย ก�าแพงเมือง-
ฝาง คูเมืองที่เวียงฝาง เป็นเมืองหลัก มีพื้นที่กว้างขวางกว่าบริเวณอื่น มีแนวก�าแพงเมือง-
เวียงป่ำป้ำง คูเมืองนอกสุดเป็นส่วนขยายของตัวเมือง สร้างขึ้นล้อมรอบบริเวณที่ใช้เป็น
ที่อยู่อาศัย มีแนวคู ๓ ชั้น พระเจ้าอินทรวิชานนท์ เจ้าเมืองเชียงใหม่ (ราว พ.ศ. ๒๔๑๖)
ทรงทราบจากข้าราชบริพารในราชตระกูล ถึงการได้พบเมืองเก่า และได้ศึกษาเข้าใจ
ว่าเป็น “เวียงไชยปราการ” ตามที่ปรากฏในต�านานและพงศาวดาร จึงได้โปรดให้ซ่อมแซม
และปฏิสังขรณ์เมืองขึ้นใหม่ เรียกว่า เมืองฝาง อยู่ในความปกครองของเมืองเชียงใหม่
และได้มีการพัฒนาต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน หลักฐานดังกล่าวช่วยให้เข้าใจได้ว่า
เวียงฝำง ก�าแพงเมือง-คูเมืองมีมาก่อนที่จะปฏิสังขรณ์เป็นเมืองฝางตามที่ปรากฏในปัจจุบัน
เมืองสบฝาง
“เมืองสบฝาง” ตั้งอยู่บนฝั่งซ้ายด้านทิศเหนือของแม่น�้ากก ใกล้บริเวณที่
N
น�้าแม่ฝางไหลมาบรรจบกับน�้าแม่กก ห่างจากปากน�้าแม่ฝางไปทางทิศตะวันออก
ประมาณ ๑ กิโลเมตร กรมศิลปากรได้ส�ารวจเมื่อวันที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๓๘ พบแนวก�าแพง
19 � 54’ N 500 m. คูเมืองยังคงสภาพบางตอนสูงประมาณ ๒.๕๐ เมตร และพบเศษเครื่องปั้นดินเผา
99 � 11’ E © GISTDA_2009 กระจัดกระจายอยู่ทั่วไปทั้งในบริเวณก�าแพงเมืองและนอกเมือง
สบฝำง
อ�าเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่
สบฝาง
ang - Sop Fang in the
FFang River basin
“Muang Sop Fang” is located on the left side of the Kok River
near the confluence of the Kok and Fang rivers,
which is 1 kilometer east of the Fang River’s mouth.
According to the survey of October 22, 1995 conducted by the
Department of Fine Arts, it was found that some pottery fragments were
scattered over the city wall areas and outside the city.
“Muang Fang” is a city built on a hilly area with walls and
moats surrounding it. The city clusters were called by local names,
such as Wiang Fang, Wiang Papang and Wiang Sutho. The city walls
and moats of the three cities were constructed at different depths
so that they could be used for city protection and water drainage.
They were developed from this construction pattern,
which was similar to Muang Pom Phu Khao, which served the same
N proposes. The city walls and moats at Wiang Fang, the main city,
were wider than those of the other cities. The outermost city wall with
triple moats was an extension of the city. Evidence showed that city
20 � 02’ N
99 � 23’ E 500 m. walls and moats existed before the restoration of
Muang Fang as seen at present.
l 151 151