Page 156 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 156
“ภูมิลักษณ์วัฒนธรรม”
่
มรดกทีจารึกไว้บนแผ่นดิน
ผืนแผ่นดิน...มรดกถึงลูกหลานไทย
ล้านนา...แผ่นดินพญาเม็งราย เมืองในล้ำนนำ 22 32’ N
๐
จำกชื่อปรำกฏบนเงินเจียง สิบสอง 102 30’ E
๐
ปั่นนำ
เชียงรุ้ง
“ล้านนา” “ล้านช้าง” และ “สิบสองปันนา” ชื่อดินแดน
ในลุ่มแม่น�้าโขงตอนบนในเขตประเทศเมียนมา ลาว จีน และไทย มีเรื่องราว แม่น�้ำสำละวิน
ประวัติศาสตร์การพัฒนาเป็นบ้านเมืองต่อเนื่องร่วมกันมาแต่อดีต “ดินแดน เชียงตุง แม่น�้ำโขง
สิบสองปันนาหรือสิบสองพันนา” อยู่ในเขตประเทศจีนส่วนตอนบน
สองฝั่งแม่น�้าโขง “ดินแดนล้านช้าง” อยู่ในเขตประเทศลาวต่อลงมาทางใต้ ล้ำนช้ำง
บนฝั่งตะวันออกของแม่น�้าโขง “ดินแดนล้านนา” อยู่ในเขตประเทศไทย
และเมียนมาบนฝั่งตะวันตกของแม่น�้าโขงจรดแม่น�้าสาละวินทางออกสู่ หลวงพระบำง
ทะเลอันดามัน “ภาคเหนือประเทศไทย” เป็นส่วนของดินแดนล้านนา
มีต�านานกล่าวถึง พญาลวจักรราช (ปู่เจ้าลาวจก) เข้ามาตั้งถิ่นฐานที่บริเวณ
สบรวกฝั่งตะวันตกของแม่น�้าโขงเป็นแห่งแรกในเขตประเทศไทย
สร้างอาณาจักรโยนกในแผ่นดินที่ชาว “ลัวะ” อาศัยอยู่ดั้งเดิม มีพื้นที่ท�านา พะเยำ
กว้างขวาง เรียกในที่นี้ว่า “ที่ราบเวียงพางค�า” มีบ้านเมืองหลายแห่ง แม่น�้ำโขง
ตั้งอยู่บนเนินโดยรอบตามขอบที่ราบ บางแห่งเจริญขึ้นเป็นศูนย์กลาง เชียงใหม่
การค้าทางบกได้แก่ “เวียงพางค�า” (อ�าเภอแม่สาย) ควบคู่กับ “เมือง
เชียงแสน” บนเส้นทางการค้าทางน�้าตลอดแม่น�้าโขงจากดินแดนภูเขา ล้ำนนำ
ถึงที่ราบชายฝั่งทะเลในประเทศเวียดนาม
“พญาเม็งราย” สืบสกุลจากพญาลวจักรราช ขึ้นครองราชสมบัติ
เป็นกษัตริย์องค์ที่ ๑๖ เมื่อพระชนมายุ ๒๐ พรรษา ใน พ.ศ. ๑๘๐๒
ทรงขยายพระราชอ�านาจออกไปทั่วดินแดนลุ่มน�้ากกและสร้างศูนย์กลาง
การปกครองขึ้นใหม่ที่เมืองเชียงราย ใน พ.ศ. ๑๘๐๙ ทรงยึดได้เมืองฝาง แม่น�้ำสำละวิน สุโขทัย
(เวียงไชยปราการ) และขึ้นไปตามลุ่มน�้ากก ตีได้เมืองลัวะ ขนานนามใหม่ว่า N
“เชียงตุง” ครอบคลุมดินแดนส่วนเหนือด้านทิศตะวันตกของแม่น�้าโขง เมำะตะมะ
จรดลุ่มน�้าสาละวิน และทรงแผ่อิทธิพลลงมาทางทิศใต้ตามลุ่มน�้าปิง
จนใน พ.ศ. ๑๘๒๔ ทรงมีพระราชอ�านาจเหนือดินแดนเมืองหริภุญชัย (ล�าพูน) 15 42’ N 100 km.
๐
๐
ที่มีอิทธิพลในลุ่มน�้าปิงและลุ่มน�้าวังมาแต่สมัยพระนางจามเทวี และต่อเนื่อง 97 01’ E (ปรับแก้จากข้อมูล นิรันดร์ วิศิษฤ์สิน พ.ศ. 2549)
ไปยังดินแดนตะวันตก ถึงเมือง “ทราง” บนเส้นทางออกสู่ทะเลอันดามัน King Mengrai L
ในเขตประเทศเมียนมา ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของเมืองยวม รวมเป็น
“แผ่นดินแห่งพญาเม็งราย..มรดกล้านนา” เมืองเหล่านี้มีชื่อปรากฏในต�านาน
และเห็นได้จากตราประทับบน “เงินเจียง” anna…The Land of
ภายหลังที่ยึดครองหริภุญชัยได้แล้ว ทรงเห็นว่าบริเวณแอ่ง “Lanna”, “Lanchang” and “Sibsongpanna” were regions on the upper
“ล�าพูน-เชียงใหม่” เป็นที่ราบกว้างอุดมสมบูรณ์ มีภูเขาโอบล้อมยากต่อ Mekong basin, were together developed into cities in the past.
การเข้าถึงของศัตรูจากภายนอก และมีเส้นทางสะดวกในการคมนาคม It consisted of “Sibsongpanna” or “Sibsongphanna”. This area covered both sides of
ไปได้ทั่วสารทิศ อีกทั้งใกล้ชิดกับดินแดนพระสหายร่วมสถาบันที่อาศัย the Mekong Rivers in China; while the other or “Lanchang” was further down
บารมีกันได้ ประกอบกับทรงเห็นว่าบริเวณบนฝั่งตะวันตกแม่น�้าปิง south on the east side of the Mekong River in Laos. “Lanna” occupied the west
ห่างจากเมืองล�าพูนขึ้นไปทางทิศเหนือ ๑๙ กิโลเมตร เป็นที่ตั้งเมืองร้าง side of the Mekong River, the Salween River in Myanmar and northern Thailand.
The first settlement, called “Kingdom of Yonok”, started at Sop Ruak on west
มีก�าแพงเมือง-คูเมืองล้อมรอบเป็นชัยภูมิที่ดี และเป็นสถานที่มงคล of the Mekong River in vast farmland called Wiang Phang Kham. The kingdom,
เหมาะสมเป็นที่ตั้งเมืองมากกว่าที่ล�าพูน โดยมีดอยสุเทพเป็นปราการ comprising several towns situated on the hills along plain edges, was developed
ธรรมชาติทางตะวันตก และมีแม่น�้าปิงเป็นเส้นทางคมนาคมทางตะวันออก into a land trade center including “Wiang Phang Kham” (Mae Sai district)
ทรงตัดสินพระทัยสร้างเวียงใหม่ตามข้อหารือร่วมพระสหายสามกษัตริย์ and “Muang Chiang Saen”, a floating trade center along the Mekong River.
From 1802-1824 B.E., “King Mengrai”, the sixteenth King,
ให้มีก�าแพงเมือง-คูเมืองล้อมรอบเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสตามขนาด extended his power over the Kok River basin and built a new
ที่พอมีก�าลังรักษาเมืองได้ และได้ทรงเลือกเอา “ปิงห่าง” แพร่งค้าขายบน administrative center at Chiang Rai. He also seized Muang Fang
แม่น�้าปิง สร้างเป็นเมืองที่ประทับ ด้วยทรงเห็นเป็นท�าเล ไม่ไกลจากเมืองใหม่ (Wiang Chai Prakan) and Chiang Tung.
ที่จะสร้างขึ้น และด้วยพระปรีชาญาณทรงทราบดีว่า “ปิงห่าง” เป็นท�าเล His influence spread down south to the Ping River basin to occupy
มีน�้าท่วมเป็นประจ�า จึงทรงสร้างคู-คันดินเป็นก�าแพงป้องกันน�้าท่วม Muang Hari Phunchai (Lamphun), Muang Sang, a town west of Muang Yuam,
ล้อมรอบเนินและที่ราบด้านตะวันออกของที่ตั้งชุมชนเดิมซึ่งมีอยู่แล้ว and he founded the “Land of King Mengrai… Lanna Heritage”. This can be
seen from the stamp on the “Jiang currency”.
เรียกเมืองที่ประทับที่ปิงห่างนี้ว่า “เวียงกุมกาม” ทรงประทับอยู่นาน ๗ ปี Subsequently, the King was satisfied with the “Lamphun - Chiang Mai” basin,
จนเมืองใหม่แล้วเสร็จใน พ.ศ. ๑๘๓๙ ได้พระราชทานนามเมืองใหม่ว่า a vast fertile plain surrounded by mountains, inaccessible to enemies,
“นพบุรีศรีนครเชียงใหม่” ซึ่งพัฒนาเป็นศูนย์กลางการปกครองแห่งล้านนา and with convenient transportation. Furthermore, the land was close
ทรงครองเมืองเชียงใหม่ในฐานะต้นราชวงศ์มังราย และเสด็จสวรรคต to his dependable friend’s land, so he decided to found a new city called
ใน พ.ศ ๑๘๕๔ มีกษัตริย์ปกครองต่อเนื่อง ๑๖ พระองค์ จนเสียเมือง “Nopburi Si Nakhon Chiang Mai” which was later developed
ให้พระเจ้าบุเรงนอง ใน พ.ศ. ๒๑๐๑ into the administrative center of Lanna.
142 142 l