Page 174 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 174
“เมืองแม่สาย” หรือ “เวียงพางค�า” ตั้งอยู่
ชิดขอบตะวันตกของที่ราบเวียงพางค�า บนฝั่งด้านใต้ของ เวียงพำงค�ำ 20 � 27’ N
อ�าเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย
99 � 53’ E
แม่น�้ารวก ห่างจากเมืองเชียงแสนซึ่งตั้งอยู่ชิดฝั่งแม่น�้าโขง
บริเวณด้านตะวันออกของที่ราบเวียงพางค�า ระยะทาง ๒๙
กิโลเมตร ก�าแพงเมือง-คูเมืองมีรูปแบบเป็นเมืองป้อมภูเขา
คูเมืองขุดลึกตามแนวขอบล้อมที่ราบบนเนิน
แบ่งพื้นที่ในเมืองออกเป็นส่วน ๆ ขยายจากบริเวณ
เนินสูงลงไปจนถึงที่ราบเชิงเขา ใช้ประโยชน์ทั้งในด้าน
การป้องกัน และระบายน�้าลงสู่คูเมืองในบริเวณที่ราบ
แนวคูเมืองด้านตะวันออกของเวียงพางค�า ขุดลึก
รับน�้าจากล�าน�้าแม่สายซึ่งไหลออกจากบริเวณภูเขา
ไปเชื่อมต่อกับ “ล�าเหมืองแดง” ระบายน�้าเข้าสู่แปลงนา
บริเวณ “แอ่งที่ราบเวียงพางค�า”
“เวียงพางค�า” “เวียงสี่ตวง” “เวียงศรีทวง” และ
“เวียงลัวะ” เป็นชื่อเรียกเมืองแม่สาย ปรากฏในเรื่องเล่า
ต�านานสิงหนวัติกุมาร พงศาวดารเมืองเงินยางเชียงแสน
และต�านานสุวรรณโคมค�า เป็นเมืองคู่แฝดกับเมือง N
เชียงแสนที่มีความส�าคัญในทางประวัติศาสตร์การตั้ง
ถิ่นฐานของเผ่าไท โดยเวียงพางค�าตั้งอยู่บนเส้นทาง 400 m.
คมนาคมทางบก ซึ่งมีความส�าคัญทั้งทางการค้าและ 20 � 24’ N © DigitalGlobe_2009
99 � 51’ E
ทางยุทธศาสตร์ เชื่อมต่อเข้าไปสู่ดินแดนรัฐฉาน
ประเทศเมียนมา ส่วนเมืองเชียงแสน ตั้งอยู่บนฝั่ง
20 � 17’ N
แม่น�้าโขง เส้นทางคมนาคมที่ส�าคัญทางน�้า เชื่อมโยงกับ เมืองเชียงแสน 100 � 06’ E
อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงรำย
ภูมิภาคที่ห่างออกไปทางต้นน�้าในประเทศจีน และชุมชน
ปลายน�้าในดินแดนภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ
ประเทศไทย ลาว กัมพูชา จนถึงชายฝั่งทะเลประเทศ
เวียดนาม
ก�าแพงเมือง-คูเมือง “เชียงแสน” สร้างชิด
ฝั่งแม่น�้าโขงตรงต�าแหน่งที่แม่น�้าค�าไหลผ่าน มี
แนวเป็นเส้นตรงมุมเหลี่ยมปิดล้อมบริเวณ ๓ ด้าน
ด้านตะวันออกถูกกัดเซาะเปิดสู่แม่น�้าโขง ยาว
ประมาณ ๒,๕๐๐ เมตร กว้าง ๑,๒๕๐ เมตร คลุม
พื้นที่ประมาณ ๑,๔๐๐ ไร่ มีเขื่อนรับน�้าเข้าคูเมือง
ที่มุมตะวันตกเฉียงเหนือ และจากคลองขุดรับน�้าจาก
แม่น�้าค�าลงสู่คูเมืองใกล้ประตูเมืองหนองมูด
ทางตะวันตก ก�าแพงเมืองด้านในเป็นอิฐ ก่อสูง N
บนฐานดินลาดลงเป็นร่องระบายน�้าออกจากเมือง
คู่ขนานกับก�าแพงเมืองด้านนอก คูเมืองมีคันดิน
ยกระดับกักเก็บและระบายน�้าออกจากคูเมือง และ 20 � 15’ N 400 m.
มีป้อมประตูยื่นออกไปจากแนวก�าแพงเมือง เป็น 100 � 03’ E © DigitalGlobe_2009
ลักษณะเดียวกันกับป้อมประตูเมืองของสุโขทัย
ซึ่งมีพวกมิลักกยู (ลัวะ) อาศัยอยู่ และตั้งชื่อเมืองว่า “สิงหนวัตินคร” หรือ “โยนกนคร” ซึ่งเชื่อว่าเป็นบริเวณ
“เมืองเชียงแสน” มีความส�าคัญเป็น ที่ตั้งเมืองเชียงแสนปัจจุบัน และในสมัยพุทธศตวรรษที่ ๑๙ ตามพงศาวดารโยนกกล่าวถึงพระยาแสนภูเป็น
เมืองท่าบนฝั่งแม่น�้าโขง ตามต�านานสิงหนวัติกุมาร ผู้สร้างเมืองเชียงแสนทับรอยเก่า ส่วนก�าแพงอิฐที่เห็นในสภาพปัจจุบันนั้น สร้างขึ้นในสมัยพญาสามฝั่งแกน
กล่าวถึงพระกุมารพาพลเมืองอพยพมาตาม เมื่อประมาณ พ.ศ. ๑๙๕๑ เป็นสมัยที่จีนได้ยกทัพมาตีล้านนาและเมืองเชียงแสนติดต่อกันเป็นเวลาหลายปี
แม่น�้าโขง มาตั้งเมืองสุวรรณโคมค�า ในดินแดน การพบหลักฐานก�าแพงเมือง-คูเมืองที่ “สบรวก” ท�าให้เข้าใจว่ามีมาก่อนการสร้างเมืองเชียงแสน
160 160 l