Page 175 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 175

“กว๊านพะเยา”                                                                                                             19 � 12’ N
               ต้นทางผ่านล�าน�้าอิง                                                                                                     99 � 55’ E


               สู่แม่น�้าโขง

                                                                                                                         เวียงหนองหวี
                      “กว๊านพะเยา” เป็นบึงหรือทะเลสาบ                                      พระธำตุจอมทอง
               น�้าจืด  เกิดจากการทรุดตัวของแผ่นดิน
               ตามแนวรอยเลื่อนธรณีวิทยาเกิดน�้าท่วมขัง                                                                  เวียงปู่ล่ำม
               ระบายออกทางแม่น�้าอิง ภายหลังมีตะกอน
               ทับถมตื้นเขิน  และในปี  พ.ศ.  ๒๔๘๒
                                                                                                                เมืองโบรำณ
               กรมประมงได้สร้างเขื่อนกักเก็บน�้าเป็นสภาพ                  กว๊ำนพะเยำ               เมืองพะเยำ  บ้ำนประตูชัย
               กว๊านพะเยาในปัจจุบัน และเป็นที่ตั้งเมือง
               พะเยาตามสภาพที่เห็นได้เด่นชัดในภาพ
               จากดาวเทียม  โดยมีน�้าระบายออกตาม
               ล�าแม่น�้าอิงไปทางทิศเหนือผ่านเวียงลอ
               เวียงเทิง  ลงสู่แม่น�้าโขงที่บ้านปากอิงใต้
               ต�าบลศรีดอนชัย อ�าเภอเชียงของ  จังหวัด                                                                                    N
               เชียงราย ระยะทางประมาณ ๑๓๐ กิโลเมตร
               ห่างไปทางทิศตะวันออกระยะทางประมาณ
               ๘  กิโลเมตร  จากที่ตั้งเมืองเชียงของซึ่งมี   19 � 08’ N                                                                  1 km.
               ก�าแพงเมือง-คูเมืองล้อมรอบ         99 � 51’ E                                                                         © CNES_2005


                                              20 � 30’ N      บริเวณโดยรอบกว๊านพะเยาเป็นที่ราบเชื่อมต่อกับที่ราบลุ่มน�้ากกและมีเส้นทางคมนาคมผ่านช่องเขา
                                             100 � 44’ E  ไปได้ทั่วสารทิศ ได้แก่ แม่น�้าวังและแม่น�้าลาวทางตะวันตก ทางตะวันออกสู่ลุ่มน�้าน่าน และทางทิศใต้สู่ลุ่มน�้าวัง
                                                        ผ่านเมืองงาวไปยังเมืองล�าปาง และทางลุ่มน�้ายมไปยังเมืองแพร่ ออกสู่ที่ราบเจ้าพระยาทางศรีสัชนาลัยและอุตรดิตถ์
                              ล�ำน�้ำกก
                                            แม่น�้ำโขง
                                         น�้ำแม่อิง       ได้แก่ “เวียงพะเยา” “เวียงประตูชัย” หรือ “เวียงรูปน�้าเต้า” “เวียงปู่ล่าม” “เวียงแก๋ว” หรือ “หนองหวี” และ
                                                              “กว๊านพะเยา” เป็นที่ตั้งของกลุ่มเมืองพะเยา ซึ่งมีก�าแพงเมือง-คูเมืองล้อมรอบแยกจากกัน ๕ แห่ง

                                                        “เวียงพระธาตุจอมทอง” ก�าแพงเมือง-คูเมืองทั้งหมดตั้งอยู่บนภูมิประเทศที่ราบลอนลาดด้านทิศเหนือของกว๊าน
                                                  แม่น�้ำโขง
                                                        และต่อเนื่องไปตามล�าน�้าอิง  ตามสภาพหลักฐานก�าแพงเมือง-คูเมืองแสดงให้เห็นว่า  เวียงพะเยาและ
                        น�้ำแม่พุง                      เวียงประตูชัยเป็นเมืองหลักสร้างขึ้นไม่พร้อมกัน เวียงประตูชัยสร้างขึ้นก่อนพร้อมกับเวียงปู่ล่าม เวียงแก๋ว และ
                                                        เวียงพระธาตุจอมทอง เป็นกลุ่มเมืองสร้างขึ้นก่อนบนเนิน มีคูขุดลึกและมีคันดินสูง ใช้ประโยชน์ในการป้องกัน
                                    น�้ำแม่อิง          และรับน�้าจากเนินและระบายไปตามความลาดเอียงลงสู่กว๊านพะเยาและที่ราบท�านา “เวียงพะเยา” สร้างขึ้นภายหลัง

                                                        เห็นได้จากก�าแพงเมือง-คูเมืองด้านตะวันออก บางส่วนวางซ้อนทับบนก�าแพงเมือง-คูเมืองด้านนอกของเมืองโบราณ
                                      น�้ำแม่ลำว
                                น�้ำแม่อิง              บ้านประตูชัยซึ่งมีคูขุดลึกถึงระดับกักเก็บน�้า มีก�าแพงด้านนอกใช้ในการรักษาระดับน�้าในคู ตามต�านานเชื่อว่า
                                                        เวียงประตูชัยมีมาแต่สมัยพุทธศตวรรษที่ ๑๗ ครั้งพระเจ้าจอมธรรมเข้าครอบครอง และพบหลักฐานการอยู่อาศัย
                         น�้ำแม่อิง
                                               N        หนาแน่นทั้งสองเวียงในพุทธศตวรรษที่ ๒๐ - ๒๑
                       กว๊ำนพะเยำ
                 18 � 50’ N  น�้ำแม่ต�๋ำ
                 99 � 25’ E                  15 km.
                                                                                               wan Phayao” the headwaters of the Ing
                                                                                                  River flowing into the Mekong River

                                  Kwan Phayao is a freshwater pond or lake caused by the subsidence of land along the fault there. After the area was flooded,
                                                    it later became relatively shallow due to sediment deposition. In 2482 B.E., the Department of Fisheries
                                    built a dam to retain water and it became known today as Kwan Phayao. The lake can be clearly seen on satellites images.
                   The Kwan Phayao region used to be the location of five cities known as the Phayao city clusters including “Wiang Phayao”, “Wiang Pratu Chai”
                            or “Wiang Roop Namtao”, “Wiang Poo-Lam”, “Wiang Kaew” or “Nong Wee”, and “Wiang Phra That Jomthong”. All of their city walls
                    and moats were located on ridge plains in the north of the lake along the Ing River. The ruins of city walls and moats show that Wiang Phayao
                  and Wiang Pratu Chai used to be the main cities and Wiang Pratu Chai, Wiang Poo Lam, Wiang Kaew and Wiang Phra That Jomthong were first
                   built on the hills. These cities had deep moats with high earthen dykes to prevent the enemies from attacking the place and draining water along
                             the slopes down to Kwan Phayao and farmlands. According to the evidence, Wiang Phayao was probably built after the other cities.
                This can be seen from the fact that some parts of its city walls and moats in the east were placed on the outer part of Wiang Pratu Chai’s city walls
                        and moats which were deep enough to retain water. The outer parts of the walls were also used to maintain the water level in the moats.
                                                                                                                      st
                                        The evidence indicated that there was a high population density in these areas during the 20 -21  Buddhist centuries.
                                                                                                                  th

                                                                                                                               l  161  161
   170   171   172   173   174   175   176   177   178   179   180