Page 180 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 180

เพื่อให้มีน�้าเพียงพอแก่ชาวเมืองในการบริโภคและ
                                                                                              เกษตรกรรม  ประชาชนชาวเมืองอยู่ดีกินดี  ท�าให้
                                                                                              ชาวเชียงแสนและชาวไทยลื้อสิบสองปันนาอพยพ
                                                                                              มาพึ่งบารมีท�าให้มีความเข้มแข็งขึ้น ได้ขยายอาณาเขต
                                                                                              กว้าง ทางทิศใต้จรดสุโขทัย ทิศเหนือและทิศตะวันออก
                                                                                              จรดเขตเมืองหลวงพระบาง  และทิศตะวันตก
                                                                                              จรดเขตเมียนมา

                                                                                                     พญาภูคาได้เจริญสัมพันธไมตรีกับ
                                                                                              กรุงสุโขทัยและได้เข้าเฝ้าพระร่วงเจ้า ท�าให้เมืองย่างและ
                                                                                              กรุงสุโขทัยมีความสัมพันธ์ที่ดีมาโดยตลอด  ต่อมา
                                                           เมืองปัว                           พระยาภูคาได้ส่งราชบุตรบุญธรรม ๒  คน  ไปสร้าง
                                                                                              เมืองใหม่  โดย  ขุนนุ่นผู้พี่  ไปสร้างเมืองจันทบุรี
                เมืองพะเยำ                                                                    (เมืองพระบาง) และขุนฟองผู้น้อง สร้างเมืองวรนคร
                                                      เมืองย่ำง
                                                                                              หรือเมืองปัวเป็นเมืองพี่เมืองน้องตั้งอยู่ทางทิศเหนือ
                                                                                              ของเมืองย่างห่างกันเพียง ๑๑ กิโลเมตร


                                                    เมืองน่ำน                                        ในช่วงเวลาภายหลังเกิดการเปลี่ยนแปลง
                                                                                              ที่ท�าให้เมืองย่างและเมืองปัวว่างเว้นจากผู้น�า  พญา
                                                                                              ง�าเมือง  เจ้าเมืองพะเยา  ได้ขยายอิทธิพลเข้าครอบ
                                                                                              ครองเมืองปัวไว้ได้ ต่อมาเจ้าขุนใส (ผู้สืบเชื้อสายใน
                                                                                              ราชวงศ์พญาภูคา)  รับใช้เป็นขุนนางในพญาง�าเมือง
                                                                                              และเป็นที่โปรดปรานของพญาง�าเมืองจึงสถาปนา
                                                                                              ให้เป็น  เจ้าขุนใสยศ  ครองเมืองปราด  ภายหลัง
                                                                                              มีก�าลังพลมากขึ้นจึงยกทัพมาต่อสู้จนหลุดพ้นจาก
                                                                                              อ�านาจเมืองพะเยา  และได้รับการสถาปนาเป็น
                                                                                              พญาผานอง ขึ้นครองเมืองปัวอย่างอิสระ และหันไป
                        เมืองแพร่
                                                                                              มีความสัมพันธ์กับกรุงสุโขทัยในสมัยพ่อขุนรามค�าแหง
                                                                                              ดังปรากฏชื่อเมืองปัวอยู่ในหลักศิลาจารึกสุโขทัย
                                                                                              หลักที่ ๑


                                                                                                     ต่อมาในปี  พ.ศ.  ๑๙๐๒  พญาการเมือง
                                                                                              ได้อพยพผู้คนจากเมืองปัว  ลงมาสร้างเมืองใหม่
                                                                                              ที่บริเวณพระธาตุแช่แห้ง  เรียกว่า  “เวียงภูเพียง
                                                                                              แช่แห้ง”  โดยมีพระธาตุแช่แห้งเป็นศูนย์กลางเมือง
             “พญาภูคา”...วีรบุรุษจังหวัดน่าน                                                  หลังจากพญาการเมืองถึงแก่พิราลัย  พญาผากอง
                                                                                              (โอรส) ขึ้นครองแทน และทรงตระหนักได้ถึงปัญหาน�้า
                                                                                              ไม่พอใช้  เนื่องจากเวียงแช่แห้งอยู่บนเนินตะพักสูง
                    “พะเยา  แพร่  น่าน”  เป็นเมืองตั้งอยู่ในต�าแหน่งเป็นลักษณะ  “เมืองสามเส้า”  เกี่ยวดองกัน และล�าน�้าลิงซึ่งเป็นแหล่งน�้าส�าคัญนั้นมีขนาดเล็ก
             ทางประวัติศาสตร์  โดยแต่ละเมืองสร้างในที่ราบหุบเขาของแต่ละลุ่มน�้าแยกออกจากกันด้วยสันปันน�้า    น�้าแห้งขอดในฤดูแล้งไม่พอกับพลเมืองที่เพิ่มขึ้น
             ห่างจากกันประมาณ ๘๐ - ๑๐๐ กิโลเมตร มีการคมนาคมเชื่อมต่อถึงกันด้วยเส้นทางผ่านช่องเขาในปัจจุบัน  จึงย้ายเมืองมาสร้างใหม่ที่ริมแม่น�้าน่านด้านตะวันตก
             สร้างเป็นถนนทางหลวงแผ่นดิน  เมืองพะเยา  ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือที่กว๊านพะเยาในลุ่มน�้าอิง  บริเวณบ้านห้วยไคร้ (ซึ่งเป็นบริเวณที่ตั้งของจังหวัดน่าน
             ระบายน�้าออกสู่แม่น�้าโขง เมืองแพร่ ตั้งอยู่ทางทิศใต้ในบริเวณตอนกลางของลุ่มน�้ายม จากนั้นระบายน�้าผ่าน  ในปัจจุบัน) เรียกว่า “เวียงน่าน” และเมื่อมีการอพยพหนี
             เมืองศรีสัชนาลัยและสุโขทัยออกสู่ที่ราบเจ้าพระยา  ในขณะที่เมืองน่านตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกในที่ราบ  น�้าท่วมไปสร้างเมืองใหม่เรียกว่า “เวียงเหนือ” จึงมีชื่อ
             หุบเขาลุ่มแม่น�้าน่านตอนบน ระบายน�้าลงสู่ที่ราบเจ้าพระยาที่จังหวัดอุตรดิตถ์ผ่านเมืองพิษณุโลก ปัจจุบัน  เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “เวียงใต้”
             แม่น�้าน่านถูกปิดกั้นด้วยเขื่อนสิริกิติ์ที่มีอ่างเก็บน�้าคลุมพื้นที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ  และด้านตะวันตกส่วน     ในปี พ.ศ. ๑๙๙๓ พระเจ้าติโลกราชเจ้านคร
             ตอนบนสุดของลุ่มน�้ายมมีโครงการสร้าง “เขื่อนแก่งเสือเต้น” ซึ่งยังเป็นข้อวิภาษหาแนวทางสรุปไม่ได้ในปัจจุบัน เชียงใหม่  เข้าครอบครองเวียงน่านและแหล่งเกลือ
                                                                                              และท�าให้เวียงน่านถูกผนวกเข้าไว้ในอาณาจักรล้านนา
                    พญาภูคานักปกครองผู้ยิ่งใหญ่ตามต�านานเป็นผู้สร้างเมืองย่าง  (เชื่อกันว่าคือบริเวณริมฝั่งด้านใต้    ในครั้งนั้น
             ของแม่น�้าย่าง ใกล้เทือกเขาดอยภูคาในเขตบ้านเสี้ยว ต�าบลยม อ�าเภอท่าวังผา) ตามต�านานท้องถิ่นเมืองน่าน
             กล่าวถึงพญาภูคาทรงฟื้นฟูเมืองย่างซึ่งแต่เดิมเป็นเมืองร้างให้เจริญรุ่งเรือง ขุดสระเก็บน�้า และท�าเหมืองฝาย




           166 166  l
   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185