Page 183 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 183

 “ภูมิลักษณ์วัฒนธรรม”
 ่
   มรดกทีจารึกไว้บนแผ่นดิน
         ผืนแผ่นดิน...มรดกถึงลูกหลานไทย




                                                                                 “เวียงเหนือ”  เป็นเมืองใหม่ตั้งอยู่บนฝั่งตะวันตกของแม่น�้าน่านห่าง
                 เวียงเหนือ                                      18 � 48’ N
                 อ�าเภอเมืองฯ จังหวัดน่าน                       100 � 47’ E  ขึ้นไปทิศเหนือของเมืองน่าน (เวียงใต้)  ประมาณ  ๒.๗  กิโลเมตร  สร้างขึ้นภาย
                                                                           หลังที่เมืองน่านประสบอุทกภัยท�าให้ส่วนด้านทิศใต้ของเมืองพังลง  จึงคิดย้ายเมือง
                                                                           ไปสร้างก�าแพงเมือง-คูเมืองใหม่บนเนินดินเป็นแบบเส้นตรงมุมเหลี่ยมล้อมรอบ
                                                                           บริเวณ  ๒  ชั้น  ภายหลังย้ายเมืองกลับไปที่เดิม  (เวียงใต้)  พื้นที่ตอนเหนือของ
                                                                           เวียงเหนือใช้สร้างเป็นสนามบิน


                                                                                 “เมืองน่าน” ก�าแพงเมือง-คูเมืองขุดล้อมรอบขอบเนิน ๒ แห่ง ตั้งอยู่ชิดกัน
                                                                           แบ่งออกเป็นเมืองน่านส่วนเหนือ และเมืองน่านส่วนใต้ มีคันดินเชื่อมต่อระหว่าง
                                                                           ๒  เนิน  ขอบคูเมืองด้านในสร้างเป็นก�าแพงอิฐทับซ้อนคูเมืองเก่า  ขุดต่างระดับ
                                                                           ระบายน�้าไปสู่แม่น�้าน่าน  ขอบคูเมืองด้านนอกไม่พบร่องรอยก�าแพงดิน  ยกเว้น
                                                                           แนวคูเมืองน่านส่วนใต้  ซึ่งมีคันดินใช้ในการบังคับน�้าให้ไหลไปตามแนวคูลงสู่
                                                                           แม่น�้าน่าน ส่วนทิศใต้ของเมืองถูกแม่น�้ากัดเซาะ ปัจจุบันใช้เป็นที่บ�าบัดน�้าเสีย


                                                                                 “เมืองภูเพียงแช่แห้ง” หรือ “เวียงแช่แห้ง” เป็นกลุ่มเมืองมีก�าแพงเมือง-
                                                                           คูเมืองล้อมรอบแบบเมืองป้อมภูเขาแยกจากกัน ๓ เนิน เนินหลักเป็นที่ตั้ง “พระธาตุ
                                                                           แช่แห้ง”  มีส่วนขยายของเมืองลงสู่ที่ราบ  คูขุดเป็นแนวผ่านบนเนินดิน  ขอบเนิน
                                                                           และในที่ราบ  มีคันดินก�าแพงถมสองข้างใช้ประโยชน์ในการป้องกัน  บางส่วนใช้
                                                                           ในการระบายน�้า และบางส่วนใช้เก็บกักน�้า
                                                                                 “ภูเพียงแช่แห้ง”  สร้างบนเนินขอบลานตะพักชั้นบนสุดและท�านาในลาน
                                                                           ตะพักกลาง เป็นภูมิปัญญาการตั้งถิ่นฐานในอดีตที่เห็นได้ทั่วทุกแห่งในภาคเหนือ



                                                                 N



                 18 � 46’ N                                     500 m.
                 100 � 46’ E                                © GISTDA_2012



                 เมืองน่ำน                                      18 � 47’ N    เมืองภูเพียงแช่แห้ง                             18 � 45’ N
                 อ�าเภอเมืองฯ จังหวัดน่าน                       100 � 46’ E   อ�าเภอภูเพียง จังหวัดน่าน                      100 � 47’ E

































                                                                 N                                                             N



                                                                400 m.                                                       200 m.
                 18 � 45’ N                                                  18 � 44’ N
                 100 � 45’ E                                © GISTDA_2012    100 � 46’ E                                 © GISTDA_2012




                                                                                                                               l  169  169
   178   179   180   181   182   183   184   185   186   187   188