Page 184 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 184

 “ภูมิลักษณ์วัฒนธรรม”
                                                                                                           ่
                                                                                           มรดกทีจารึกไว้บนแผ่นดิน








                                                                                                                           19 � 17’ N
                                                                                                                           100 � 59’ E
















                                                                                                                                ภูคำ
                                                                                             น�้ำปัว
                                                                 แม่น�้ำน่ำน                         อ.ปัว




                                                                                                         เมืองปัว
             เมืองย่าง-เมืองปัว


                    “เมืองปัว” หรือ “วรนคร” มีก�าแพงเมือง-
             คูเมืองอยู่ในเขตการปกครองของเทศบาลต�าบลปัว                                                                         ภูจุน
             องค์การบริหารส่วนต�าบลวรนคร ก�าแพงเมือง-คูเมืองปัว     อ.ท่ำวังผำ
             สร้างขึ้นเป็นแบบเมืองป้อมภูเขามีคูขุดไปตามแนวขอบ
             ล้อมรอบเนินที่ราบมีคันดินถมสองข้างใช้ประโยชน์
             ในการป้องกันเรียงต่อกันหลายเนินยาวประมาณ
             ๓,๒๐๐ เมตร แยกออกจากกันได้ ๓ ส่วน เรียกชื่อ
             ตามหมู่บ้านปัจจุบันซึ่งตั้งอยู่บนที่ราบตีนเนินติด                            น�้ำย่ำง
             กับที่ราบท�านาเรียงล�าดับจากเหนือมาใต้  ได้แก่                                               เมืองย่ำง
             1) เนินเมืองวรนคร (บ้านแก้ม) 2) เนินเมืองสวนดอก
             3) เนินเมืองเก็ต                                                                                                 N


                    “เนินเมืองวรนคร” หรือ “เนินเมืองพระธาตุ”     19 � 01’ N
             เป็นเมืองหลัก มีพระธาตุเบ็งสกัด เป็นศูนย์กลางน�้าใจ   100 � 46’ E                                              3 km.
             ชุมชน ตั้งอยู่บนยอดเนินภายในเมืองตรงส่วนที่คูเมือง
             ขุดล้อมเป็นจะงอยติดขอบที่ราบท�านาและบริเวณตีนเนิน  ได้รับการดูแลจากท้องถิ่น  บางส่วนถูกท�าลายหรือเปลี่ยนแปลงไปเนื่องจากการพัฒนาที่ละเลยคุณค่าของ
             ด้านทิศใต้เป็นที่ตั้งของหมู่บ้านวรนคร (บ้านแก้ม)  ความเป็นประวัติศาสตร์ที่น�าความภาคภูมิใจให้กับท้องถิ่น  ปัจจุบันยังไม่มีการส�ารวจศึกษาในรายละเอียด
                                                     ในต�านานกล่าวว่าพญาภูคาสร้างเมืองย่างขึ้นก่อน  และสร้างเมืองปัวให้ลูกปกครองภายหลัง  อย่างไรก็ตาม
                    แม่น�้าน่านไหลลงทางทิศใต้ก่อนถึงเมืองน่าน  ร่องรอยก�าแพงเมือง-คูเมืองที่สมบูรณ์ของทั้งสองแห่งยังคงปรากฏเห็นได้อย่างชัดเจนในรูปถ่ายทางอากาศ
             ประมาณ  ๕๐  กิโลเมตร  ตรงส่วน  ที่  “แม่น�้าปัว”   ที่บันทึกไว้เมื่อ ๕๐ ปีมาแล้ว เป็นมรดกวัฒนธรรมบนผืนแผ่นดิน ที่บ่งบอกถึงภูมิปัญญาการตั้งถิ่นฐาน เป็นประโยชน์
             และ  “แม่น�้าย่าง”  ไหลมาบรรจบกับแม่น�้าน่าน  และตัวอย่างทั้งด้านการศึกษาและการอนุรักษ์
             ภูมิประเทศเป็นหุบเขากว้าง  ล�าน�้าปัวและล�าน�้าย่าง
             ระบายน�้าจากทิวเขาภูคาซึ่งมีสันปันน�้ายาวในแนว     “เมืองย่าง”  “เมืองล่าง” “เมืองยม” หรือ “เมืองภูคา” มีก�าแพงเมือง-คูเมืองอยู่ในเขตการปกครอง
             เหนือ-ใต้ เป็นแนวเขตแดนไทย-ลาว กัดลึกสร้างที่ราบ ขององค์การบริหารส่วนต�าบลยม อ�าเภอท่าวังผา และองค์การบริหารส่วนต�าบลศิลาเพชร อ�าเภอปัว จังหวัดน่าน
             ลานตะพักแม่น�้า  บนขอบลานตะพักด้านทิศใต้ของ  มีก�าแพงเมือง-คูเมืองสร้างขึ้นเป็นแบบเมืองป้อมภูเขาบนเนินที่ราบลานตะพัก  เรียงต่อกันยาวประมาณ
             ทั้งแม่น�้าย่างและแม่น�้าปัวสูงจากระดับน�้าท่วมถึง   ๓,๘๐๐ เมตร แยกออกจากกันเป็น ๓ ส่วน เรียงจากตะวันตกไปตะวันออก ได้แก่ 1) เนินเมืองบ้านเสี้ยว
             เป็นที่ตั้งเมืองโบราณมีก�าแพงเมือง-คูเมืองล้อมรอบ 2) เนินเมืองบ้านดอนไชย  3) เนินเมืองบ้านดอนมูล-ดอนแก้ว
             เป็นรูปแบบเมืองป้อมภูเขายาวไปตามขอบลานตะพัก
             มีลักษณะเหมือนกันทั้งสองเมือง ห่างกันประมาณ ๑๑     “เนินเมืองบ้านเสี้ยว”  หรือเนินพระธาตุจอมพริก    มีพระธาตุจอมพริกประดิษฐานอยู่ภายในเมือง
             กิโลเมตร  แสดงให้เห็นถึงภูมิปัญญาการตั้งถิ่นฐาน  สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าเก้าเถื่อน ภายในบรรจุพระบรมสารีริกธาตุที่ได้รับมอบจากกรุงสุโขทัย เพื่อเป็นอนุสรณ์
             ที่เหมือนกันประดุจเมืองคู่แฝด  ก�าแพงเมือง-คูเมือง   ที่รบชนะพญาง�าเมือง
             ทั้งสองแห่งยังคงสภาพค่อนข้างสมบูรณ์และบางส่วน




          170 170   l
   179   180   181   182   183   184   185   186   187   188   189