Page 188 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 188

 “ภูมิลักษณ์วัฒนธรรม”
                                                                                        มรดกทีจารึกไว้บนแผ่นดิน











                ่
             ทีราบเจ้าพระยา แหล่งก�าเนิดวัฒนธรรม                                                         ่


             “ทวารวดี-ฟูนัน” ในอ่าวไทย





             The Chao Phraya Plain: Origin of


             The “Funan-Dvaravati” Culture in the Gulf of Thailand














                                                                          ที่ราบเจ้าพระยา...ที่ราบภาคกลาง
                                                                          ที่ราบเจ้าพระยาตอนบน...ดินแดนสุโขทัย

                                                                          ที่ราบเจ้าพระยาตอนล่าง...การตั้งถิ่นฐานในอ่าวไทย
                                                                          ลุ่มน�้าป่าสัก...ที่ตัั้ง “เมืองศรีเทพ” และ “เมืองราด”
                                                                          ล�าน�้าแม่กลอง...เส้นทางสู่ทะเลอันดามัน


                                                                          The Chao Phraya Plain: The central plain
                                                                          The upper Chao Phraya Plain…Sukhothai land
                                                                          The lower Chao Phraya Plain…Settlement in the Gulf of Thailand
                                                                          Pasak River Basin…Location of “Muang Si Thep” and “Muang Rat”
                                                                          The Maeklong River… providing access to the Andaman Sea






                                                                                                การตั้งถิ่นฐาน
                                                                        สมัย ๑  ประมาณ ๔,๕๐๐ - ๓,๕๐๐ ปี มีการผลิต แลกเปลี่ยนกับชุมชนอื่น
                                                                                ท�าเครื่องประดับจากเปลือกหอย ผลิตเครื่องมือหิน

                                                                        สมัย ๒  ประมาณ  ๓,๕๐๐  -  ๒,๗๐๐  ปี  มีการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
                                                                                ผลิตของใช้เป็นอุตสาหกรรม  มีตะกรันสินแร่ทับถมเป็นเนินใหญ่
                                                                        สมัย ๓  ประมาณ  ๒,๗๐๐  -  ๒,๓๐๐  ปี  ผลิตทองแดงเป็นอุตสาหกรรมท�า
                                                                                เครื่องประดับส�าริด หินอ่อน หอยทะเล และเริ่มรู้จักใช้เหล็ก
                                                                        สมัย ๔  ประมาณ ๒,๓๐๐ - ๑,๕๐๐ ปี ผลิตและใช้เครื่องมือเหล็กอย่างแพร่หลาย
                                                                                แลกเปลี่ยนค้าขายกับชุมชนต่างถิ่น  พบลูกปัดท�าจากแก้วและหิน
                                                                                กึ่งรัตนชาติ

                                                                                                                (สุรพล นาถะพินธุ, ๒๕๒๗)
















          174 174   l
   183   184   185   186   187   188   189   190   191   192   193