Page 190 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 190

 “ภูมิลักษณ์วัฒนธรรม”
                                                                                        มรดกทีจารึกไว้บนแผ่นดิน







                                                          แหล่งที่ตั้งชุมชนโบราณบริเวณที่ราบภาคกลาง      ่                            17 ํ 52’ N
                                                                                                       อุตรดิตถ์                     101 ํ 51’ E

                                                                                 แม่นํ้าวัง        แม่นํ้ายม







                                                                                 ตาก             สุโขทัย  แม่นํ้าน่าน
                                                                                                              พิษณุโลก
                                                                                      แม่นํ้าปิง

                                                                                        กําแพงเพชร
                                                                                                                พิจิตร         เพชรบูรณ์


                                                                                                ที่ราบเจ้าพระยาตอนบน




                                                                                                       นครสวรรค์                 แม่นํ้าป่าสัก



                                                                                                        อุทัยธานี


                                                                                                           ชัยนาท

                                                                                                               สิงห์บุรี
                                                                                                                     ลพบุรี
               ่
             ทีราบเจ้าพระยา...                                                                                 แม่นํ้าเจ้าพระยา  อ่างทอง
               ่
             ทีราบภาคกลาง                                                                                                     สระบุรี
                                                                                                     สุพรรณบุรี        พระนครศรีอยุธยา
                                                                                                                                     นครนายก
                                                                                 แม่นํ้าแควใหญ่
                   “ที่ราบเจ้าพระยา” หรือเรียกว่า “ที่ราบภาคกลาง”                                          แม่นํ้าท่าจีน  ปทุมธานี
                                                                             แม่นํ้าแควน้อย
             คลุมบริเวณที่ราบลุ่มน�้าเจ้าพระยา  ที่ราบลุ่มน�้าป่าสัก                      กาญจนบุรี                              ปราจีนบุรี
                                                                                                แม่นํ้า
             ที่ราบลุ่มแม่น�้าแม่กลอง และที่ราบลุ่มน�้าบางปะกง เริ่มต้น                        แม่กลอง    นครปฐม     นนทบุรี
             ตั้งแต่บริเวณจังหวัดอุตรดิตถ์ จังหวัดสุโขทัยทางตอนเหนือ                                                กรุงเทพมหานคร  ฉะเชิงเทรา
             ตลอดจนถึงชายฝั่งทะเลอ่าวไทยทางตอนใต้ความยาว                                      ราชบุรี      สมุทรสาคร  สมุทรปราการ
             ในแนวเหนือ-ใต้ ประมาณ ๕๔๐ กิโลเมตร เป็นที่ราบลุ่ม   อันดามัน                                สมุทรสงคราม                    N
             มีตะกอนยุคเทอร์เชียรีทับถมในบริเวณเปลือกโลก                                                         อ่าวไทย        ชลบุรี
             ซึ่งทรุดตัวเป็นแอ่งลึกยาวเข้าไปในแผ่นดิน ชายฝั่งทะเล   13 ํ 01’ N                      เพชรบุรี                          30 km.
                                                          97 ํ 56’ E
             อ่าวไทยเว้าลึกเป็นรูปตัว “ก” เป็นหลักฐานการทรุดตัวของ

             แผ่นดินที่ยังคงเหลือให้เห็นได้ในปัจจุบัน การเปลี่ยนแปลง
             ในที่ราบเจ้าพระยาเกิดขึ้นในช่วงเวลาพร้อมๆ  กันกับที่   “บริเวณที่ราบเจ้าพระยาตอนบน” ยกตัวสูงและเอียงต�่าลงทางทิศตะวันออกเฉียงใต้เห็นได้เป็นแอ่งน�้า
             ชั้นหินทรายมหายุคเมโซโซอิคยกตัวเป็นที่ราบสูงโคราช  ท่วมขังที่บริเวณบึงบอระเพ็ด  และยังคงสภาพน�้าท่วมขังในปัจจุบัน  การเกิดภูมิลักษณ์  “ตะกอนรูปพัด
             ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  และภายหลังการสะสมตัว  ก�าแพงเพชร” เต็มพื้นที่ราบเจ้าพระยาตอนบน  การเกิดภูมิลักษณ์ “ตะกอนรูปพัด” เป็นแนวยาวเหนือ-ใต้
             ของชั้นตะกอนหินยุคเทอร์เชียรี  ได้เกิดการเคลื่อนตัว  ด้านตะวันออกของขอบที่ราบ และการพัฒนารูปแบบและการรวมตัวกันของทางน�้าหลัก ได้แก่ ปิง วัง ยม
             ของเปลือกโลกตามแนวทิศตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออก และน่าน เป็นทางน�้าเจ้าพระยาสายเดียวกัดลึกผ่านเนินปิดกั้นด้านทิศใต้
             เฉียงใต้ มีผลต่อสภาพธรณีสัณฐานบริเวณบึงบอระเพ็ด   “บริเวณที่ราบเจ้าพระยาตอนล่าง” อยู่ในสภาพน�้าทะเลท่วมขังเป็นชะวากทะเลเว้าลึกเข้ามาในแผ่นดิน

             จังหวัดนครสวรรค์  แบ่งที่ราบลุ่มแม่น�้าเจ้าพระยาออก  จนถึงจังหวัดชัยนาท  การเปลี่ยนแปลงระดับน�้าทะเลและผืนแผ่นดินในช่วงเวลาที่ผ่านมา  เป็นผลให้เกิด
             เป็น ๒ บริเวณ ได้แก่ “ที่ราบเจ้าพระยาตอนบน” และ   การพัฒนาการสภาพธรณีสัณฐานและการเปลี่ยนแปลงของชายฝั่งทะเลมาโดยตลอด หลักฐานการเปลี่ยนแปลง
             “ที่ราบเจ้าพระยาตอนล่าง” ส่งผลถึงพัฒนาการสภาพธรณี ปรากฏในภาพจากดาวเทียมในช่วงเวลาต่างๆ ได้แก่ การเกิดภูมิลักษณ์ “ตะกอนรูปพัดแม่กลองทางตะวันตก”
             สัณฐานในสองบริเวณแตกต่างกัน                “ตะกอนรูปพัดป่าสักทางตะวันออก” และ “ตะกอนรูปพัดดงคอนบริเวณสิงห์บุรี-ชัยนาท” การศึกษาความสัมพันธ์
                                                        ของแหล่งที่ตั้งชุมชนโบราณและแนวชายฝั่งทะเลในสมัยทวารวดี-ฟูนัน แสดงให้เห็นได้ในภาพจากดาวเทียม






          176 176   l
   185   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195